Archive for the ‘ขอพรหลวงพ่อ วัดในภาคอีสาน’ Category

วัดป่าแสงอรุณ จ.ขอนแก่น

สิมอีสาน ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดป่าแสงอรุณ ตำบลพระลับ ห่างจากศาลากลางจังหวัดขอนแก่นประมาณ 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางขอนแก่น-กาฬสินธุ์ สิมอีสาน ได้เน้นถึงรูปแบบ ทรวดทรง ความมั่นคงสามารถคุ้มแดดคุ้มฝน ตลอดจนความวิจิตรงดงามของภาพเขียนฝาผนังลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อันเป็นการปลูกฝังแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ดีต่อไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดขอนแก่นตลอดไป

ขอขอบคุณ http://th.wikipedia.org/

การเดินทาง วัดแสงป่าอรุณ

โดยรถยนต์
เส้นทางที่ 1 ขอนแก่นอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปตามทางรถยนต์ 445 กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถึงจังหวัดสระบุรี ตรงหลักกิโลเมตรที่ 107 แยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ผ่านจังหวัดนครราชสีมาถึงจังหวัดขอนแก่น
เส้นทางที่ 2 ใช้เส้นทางจากกรุงเทพฯ ถึงสระบุรีแล้วตรงไปตามถนนสระบุรี-ลำนารายณ์ แยกขวาเข้าเส้นทางม่วงค่อม-ด่านขุนทด-ชัยภูมิ-ขอนแก่น หรือสระบุรี-ลำนารายณ์-อำเภอเทพสถิตย์-ชัยภูมิ-อำเภอมัญจาคีรี-อำเภอพระยืน-ขอนแก่น
โดยรถประจำทาง
จากกรุงเทพฯ ขึ้นรถโดยสารที่สถานีขนส่งสายตะวันออกเฉียงเหนือ ถนนกำแพงเพชร 2 มีรถโดยสารธรรมดา รถปรับอากาศ และรถนอนพิเศษชนิด 24 ที่นั่ง วิ่งบริการทุกวัน ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 ชั่วโมง
โดยรถไฟ
จากกรุงเทพฯ ขึ้นรถไฟที่สถานีรถไฟหัวลำโพง ถึง สถานีรถไฟขอนแก่น
โดยเครื่องบิน
จากกรุงเทพฯ ใช้บริการเที่ยวบิน กรุงเทพฯ-ขอนแก่น ของสายการบินต่างๆ ได้ทุกวัน ใช้เวลาเดินทาง 50 นาที

ขอขอบคุณ http://www.teeteawthai.com/

จุดเด่นและสิ่งที่น่าสนใจ วัดป่าแสงอรุณ

สิมอีสาน (อุโบสถ) ที่เน้นถึงรูปแบบ ทรวดทรง ความมั่นคงสามารถคุ้มแดดคุ้มฝน ตลอดจนความวิจิตรงดงามของภาพเขียนฝาผนังลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อันเป็นการปลูกฝังแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ดีต่อไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดขอนแก่นตลอดไป

กิจกรรมสำหรับนักท่องเที่ยว
ชมความงดงามของสิมอีสาน กราบไหว้ “หลวงปู่ขาว” พระประธานประจำวัด และ “พระพุทธสังสิโยภาสสุขพิพัฒน์” พระประธานในสิมอีสาน ชมพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งวิถีชาวชนบทอีสาน ให้อาหารปลาที่วังปลาหมึกยักษ์ และพักผ่อนหย่อนใจที่น้ำตกจำลอง สวนหย่อม

เวลาทำการ
เปิดให้เข้าชมทุกวัน

Read more »

วัดป่าแสงอรุณ Wat Pa Saeng Arun

วัดป่าแสงอรุณ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต ตั้งอยู่ที่บ้านเลิงเปือย ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น อยู่ห่างจากตัวเมืองขอนแก่นไป 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางขอนแก่น-กาฬสินธุ์ วัดมีเนื้อที่ 39 ไร่

ปูชนียสถาน/ปูชนียวัตถุ
อุโบสถ (สิมอีสานประยุกต์) เป็นสถาปัตยกรรมแบบอีสานตอนบนผสมผสานกับสถาปัตยกรรมส่วนกลาง เพื่อให้สวยโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว กว้าง 15 เมตร ยาว 34 เมตร สูงจากพื้นดินเดิม 60 เมตร เสา 52 ต้น หน้าต่าง 14 ช่อง ประตู 3 ช่อง หลังคามุงด้วยกระเบื้องเกล็ดปลาแบบโบราณ มีหอระฆัง 4 หอ ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วที่มั่นคงถาวรโดยตลอด
พระประธานประจำวัดมีชื่อว่า “หลวงปู่ขาว” เป็นพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร (ปางมารวิชัย) สมัยเชียงแสน ขนาดหน้าตักกว้าง 11 นิ้ว สูง 1 ฟุตเศษ ซึ่งเป็นพระคู่บารมีของวัด
พระประธานในสิมอีสานมีชื่อว่า “พระพุทธสังสิโยภาสสุขพิพัฒน์” เป็นพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร ขนาดหน้าตักกว้าง 69 นิ้ว สูง 2 เมตรเศษ มีลักษณะงดงาม และเป็นศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั่วไป
ศาลาหลวงพ่อองค์ดำ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธปฎิมาองค์ดำจำลองมาจากมหาวิทยาลัยนาลันทา ประเทศอินเดีย มีพระประจำวันเกิดครบทุกวัน และมีรูปเหมือนพระบูรพาจารย์สำคัญ 2 รูปคือหลวงปู่มั่น และหลวงปู่เทสก์

Read more »

วัดป่าแสงอรุณ

watpasangarun-konkaen17

ตั้งอยู่ตำบลพระลับ อำเภอเมือง ห่างจากศาลากลางจังหวัดขอนแก่นประมาณ 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางขอนแก่น-กาฬสินธุ์ สิมอีสาน(อุโบสถ) ได้เน้นถึงรูปแบบ ทรวดทรง ความมั่นคงสามารถคุ้มแดดคุ้มฝน ตลอดจนความวิจิตรงดงามของภาพเขียนฝาผนังลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อันเป็นการปลูกฝังแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ดีต่อไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดขอนแก่นตลอดไป

โบสถ์วัดป่าแสงอรุณ มีลักษณะของสถาปัตยกรรมแบบอีสานตอนบน ผสมกับสถาปัตยกรรมภาคกลาง ด้านหน้าสู่ทิศตะวันออก มีความกว้าง ๑๕ เมตร ความยาว ๓๔ เมตร ปลียอดบนทำด้วยโลหะทองคำบริสุทธิ์สูงจากพื้น 60 เมตร จำนวนเสา 52 ต้น หน้าต่าง 14 ช่อง ประตู 3 ช่อง หลังคามุงด้วยกระเบื้องเกล็ดปลาสีแดงส้มแบบโบราณ มีหอระฆัง 4 หอที่มุมกำแพงแก้วทั้งสี่มุม ใช้ระยะเวลาก่อสร้าง 9 ปี ใช้งบประมาณ 49 ล้านบาทถ้วน

Read more »

ประวัติวัดป่าแสงอรุณ ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

๑. สภาพฐานะและที่ตั้งวัด
วัดป่าแสงอรุณ เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ ๔๔๙ บ้านเลิงเปือย (แอวมอง) หมู่ ๙ ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต อยู่ด้านทิศตะวันออกและห่างจากตัวเมืองขอนแก่น ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๗๓ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๒๘
๒. อาณาเขตของวัด
ทิศเหนือ กว้าง ๔๔๓ เมตร ติดถนนพระคือ-หนองโพธิ์
ทิศใต้ กว้าง ๒๐๔ เมตร ติดถนนสาธารณประโยชน์
ทิศตะวันออก กว้าง ๒๔๓ เมตร ติดถนนสาธารณประโยชน์
ทิศตะวันตก กว้าง ๒๖๑ เมตร ติดถนนสาธารณประโยชน์
๓. ลักษณะพื้นที่ตั้งวัด
เดิมพื้นที่ตั้งวัดไม่ราบเรียบ มีลักษณะเป็นเนินสูง จากด้านทิศเหนือราบลุ่มลงไปทางด้านทิศใต้ และพื้นที่บางส่วนก็เป็นหลุม เป็นบ่อ มีไผ่ป่าและหญ้าคาขึ้นหนาแน่น ส่วนบริเวณที่พระสงฆ์อยู่อาศัย มีไม้ยืนต้นที่สำคัญ เช่น มะค่าแต้ ตะโก ตะแบก ประดู่ สะเดา ไม้จิก ไม้แดง ต้นปีบ เป็นต้น ปัจจุบัน ได้ปรับพื้นที่ให้อยู่ในสภาพที่ราบเรียบเป็นส่วนมากแล้ว ภายในวัดได้แบ่งเขตใหญ่ ๆ ไว้ ดังนี้
Read more »

สิมอีสาน (วัดป่าแสงอรุณ)

สิมอีสาน หรือ โบสถ์อีสาน มาจากการที่ทางอีสานเรียกโบสถ์ว่า “สิม” ลักษณะโดยทั่วไปของสิม แบ่งเป็น 2 ประเภทหลักตามสภาพของแหล่งที่ตั้ง คือ สิมน้ำและสิมบก สิมน้ำ เป็นสิมที่ตั้งอยู่กลางน้ำ เช่น สระ หนอง บึง ส่วนใหญ่เป็นอาคารที่สร้างอย่างชั่วคราวสำหรับวัดที่ยังไม่มีวิสุงคามสีมา ส่วนใหญ่สิมบกเป็นสิมที่ตั้งอยู่บนแผ่นดิน มีลักษณะเป็นอาคารถาวร นอกจากนี้ สิมยังแบ่งตามลำดับอายุก่อนหลังและลักษณะร่วมในรูปแบบได้เป็น 4 ประเภท คือ สิมก่อผนังแบบดั้งเดิม สิมโถง สิมก่อผนังรุ่นหลัง และสิมแบบผสม

สิม มาจากคำว่า สีมา สิมมา หรือพัทธสีมา ที่ปรากฏในคำจารึกบนแผ่นหินที่ประกาศเจตนาอุทิศของผู้สร้างปักไว้ด้านหลังสิมมีปรากฏอยู่ทั่วไป ความหมายของคำเหล่านี้ หมายถึง เขตแดนที่กำหนดในการประชุมทำสังฆกรรมอันเป็นกิจของสงฆ์โดยมีแผ่นสีมาหินเป็นเครื่องหมายแสดงขอบเขตรอบบริเวณตัวสิม*

Read more »

วัดหนองแวง Wat Nong Waeng

untitled

วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) มีพระมหาธาตุแก่นนคร หรือ พระธาตุเก้าชั้น เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กก่ออิฐถือปูน เรือนยอดทรงเจดีย์ (จำลองแบบจากพระธาตุขามแก่น) จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และมหามังคลาน ุสรณ์ 200 ปี เมืองขอนแก่น ความสูงขององค์พระธาตุฯ 80 เมตร มีพระจุลธาตุ 4 องค์ ตั้งอยู่ 4 มุมและมีกำแพงแก้วพญานาค 7 เศียรล้อมรอบ เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี ผสมผสานศิลปะอินโดจีน ซึ่งเป็นลักษณะแบบชาวอีสานตากแห

ขอขอบคุณ http://travel.edtguide.com/

วัดหนองแวง (พระมหาธาตุแก่นนคร) จ.ขอนแก่น

ตั้งอยู่ที่ถนนกลางเมือง ริมบึงแก่นนคร อำเภอเมือง ภายในวัดหนองแวงซึ่งเป็นพระอารามหลวง มีพระมหาธาตุแก่นนคร หรือ พระธาตุเก้าชั้นฐานสี่เหลี่ยมกว้างด้านละ 50 เมตร  เรือนยอดทรงเจดีย์จำลองแบบจากพระธาตุขามแก่น จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และมหามังคลานุสรณ์ 200 ปี เมืองขอนแก่น ความสูงขององค์พระธาตุฯ 80 เมตร มีพระจุลธาตุ 4 องค์ ตั้งอยู่ 4 มุมและมีกำแพงแก้วพญานาค 7 เศียรล้อมรอบ เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี ผสมผสานศิลปะอินโดจีน ซึ่งเป็นลักษณะแบบชาวอีสานตากแห ภายในองค์พระธาตุมีอยู่ 9 ชั้น คือ

ชั้นที่ 1 เป็นหอประชุมมีพระบรมสารีริกธาตุ ประดิษฐานอยู่บนบุษบกตรงกลางและพระประธาน 3 องค์อยู่ตรงกลาง บานประตู หน้าต่าง แกะสลักภาพนิทานเรื่องจำปาสี่ต้น โดยเฉพาะบานประตูแกะสลักภาพ 3 มิติและมีจิตรกรรมฝาผนังเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เมืองขอนแก่น

ชั้นที่ 2 เป็นหอพัก บานประตูหน้าต่างเขียนลวดลายเบญจรงค์และภาพแกะสลักนิทานเรื่องสังศิลป์ชัย ตามผนังด้านบนมีภาพเขียนเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับคะลำ หรือข้อห้ามต่าง ๆ ของชาวอีสาน

Read more »

พระมหาธาตุแก่นนคร หรือ พระธาตุเก้าชั้น อ.เมือง จ.ขอนแก่น

ภายในวัดหนองแวง (พระอารามหลวง) มีพระมหาธาตุแก่นนคร หรือ พระธาตุเก้าชั้น เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กก่ออิฐถือปูน เรือนยอดทรงเจดีย์ (จำลองแบบจากพระธาตุขามแก่น) จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และมหามังคลานุสรณ์ 200 ปี เมืองขอนแก่น

ความสูงขององค์พระธาตุฯ 80 เมตร มีพระจุลธาตุ 4 องค์ ตั้งอยู่ 4 มุมและมีกำแพงแก้วพญานาค 7 เศียรล้อมรอบ เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี ผสมผสานศิลปะอินโดจีน ซึ่งเป็นลักษณะแบบชาวอีสานตากแห ภายในองค์พระธาตุมีอยู่ 9 ชั้น คือ…..

ชั้นที่ 1 เป็นหอประชุมมีพระบรมสารีริกธาตุ ประดิษฐานอยู่บนบุษบกตรงกลางและพระประธาน 3 องค์อยู่ตรงกลาง บานประตู หน้าต่าง แกะสลักภาพนิทานเรื่องจำปาสี่ต้น โดยเฉพาะบานประตูแกะสลักภาพ 3 มิติ และมีจิตรกรรมฝาผนังเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เมืองขอนแก่น

ชั้นที่ 2 เป็นหอพัก บานประตูหน้าต่างเขียนลวดลายเบญจรงค์และภาพแกะสลักนิทานเรื่องสังศิลป์ชัย

Read more »

วัดหนองแวง อ.เมือง จ.ขอนแก่น

IMG_0021_thumb[2]

วัดหนองแวง หรือ “พระมหาธาตุแก่นนคร” ตั้งอยู่ที่ถนนกลางเมือง ริมบึงแก่นนคร อำเภอเมือง ภายในวัดหนองแวงเมืองเก่า ซึ่งเป็นพระอารามหลวง มีพระมหาธาตุแก่นนคร หรือพระธาตุเก้าชั้นฐานสี่เหลี่ยมกว้างด้านละ 50 เมตร เรือนยอดทรงเจดีย์จำลองแบบจากพระธาตุขามแก่น จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และมหามังคลานุสรณ์ 200 ปี เมืองขอนแก่น
สำหรับความสูงขององค์พระธาตุฯ นั้นมีความสูงที่ 80 เมตร มีพระจุลธาตุ 4 องค์ ตั้งอยู่ 4 มุม และมีกำแพงแก้วพญานาค 7 เศียรล้อมรอบ เป็นศิลปะสมัยทวารวดีผสมผสานศิลปะอินโดจีน ซึ่งเป็นลักษณะแบบชาวอีสานตากแห
Read more »

วัดหนองแวงพระอารามหลวง [จ.ขอนแก่น]

12655927911265594905

วัดหนองแวง พระอารามหลวง (พระมหาธาตุแก่นนคร) ตั้งอยู่เลขที่ 593 ถนนกลางเมือง ริมบึงแก่นนคร อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

เป็นวัดเก่าแก่ที่สำคัญของจ.ขอนแก่น สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2336
โดยพระยานครศรีบริรักษ์บรมราชภักดี หรือ ท้าวเพีย เมืองแพน
เจ้าเมืองคนแรกของจังหวัดขอนแก่น เดิมมีชื่อว่าวัดเหนือ สร้างพร้อมกับการก่อตั้งเมืองขอนแก่น เช่นเดียวกับวัดกลางและวัดธาตุ
ได้รับเลือกให้เป็นวัดตัวอย่าง จนถึงปี พ.ศ.2527 จึงได้รับการยกฐานะเป็นพระอารามหลวง
มีพื้นที่ 28 ไร่เศษ สิ่งสำคัญภายในวัดนี้คือ พระมหาธาตุแก่นนคร
ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ที่สมเด็จพระสังฆราชวัดราชบพิธฯ ประทานให้ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2522 เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี ผสมผสานศิลปะอินโดจีน ซึ่งเป็นลักษณะแบบชาวอีสานตากแห ฝาผนังด้านในมีภาพเขียนประวัติศาสตร์เมืองขอนแก่นด้วย

วัดหนองแวง จัดสร้างขึ้น เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และมหามังคลานุสรณ์ 200 ปี เมืองขอนแก่น ความสูงขององค์พระธาตุฯ 80 เมตร มีพระจุลธาตุ 4 องค์ ตั้งอยู่ 4 มุมและมีกำแพงแก้วพญานาค 7 เศียรล้อมรอบ

ขอขอบคุณ http://www.bloggang.com/

พระมหาธาตุแก่นนคร : วัดหนองแวง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

DSC_0227

ตั้งอยู่ที่ถนนกลางเมือง ริมบึงแก่นนคร อำเภอเมือง ภายในวัดหนองแวงเมืองเก่าซึ่งเป็นพระอารามหลวง สร้างขึ้นในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และมหามังคลานุสรณ์ 200 ปีเมืองขอนแก่น องค์พระธาตุเป็นศิลปะแบบทวารวดี ผสมผสานอินโดจีน ซึ่งเป็นลักษณะแบบชาวอีสานปากแห วัดหนองแวง เดิมชื่อวัดเหนือ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2332 พร้อมกับวัดกลาง และวัดธาตุ โดยท้าวเพียเมืองแพน เจ้าเมืองคนแรก ณ บ้านบึงบอน (บึงแก่นนคร) พ.ศ. 2354 ท้าวจามมุตร ท้ายเพียเมืองแพน เจ้าเมืองคนที่ 2 ได้ย้ายเมืองไปอยู่บ้านดอนพันชาติ เขตเมืองมหาสารคาม (บ้านโนนเมือง ตำบลแพง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม) บ้านบึงบอนจึงกลายเป็นเมืองเก่าตั้งแต่นั้นมา ปัจจุบันตั้งอยู่ เลขที่ 593 ถนนกลางเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2442 โดยพระยานครศรีบริรักษ์(อู๋) และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งสุดท้าย เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2527 เขตวิสุงคามสีมา
Read more »

วัดหนองแวง (พระมหาธาตุแก่นนคร)

NongWang02

ตั้งอยู่ที่ถนนกลางเมือง ริมบึงแก่นนคร อำเภอเมือง ภายในวัดหนองแวงเมืองเก่าซึ่งเป็นพระอารามหลวง มีพระมหาธาตุแก่นนคร
หรือ พระธาตุเก้าชั้นฐานสี่เหลี่ยมกว้างด้านละ 50 เมตร เรือนยอดทรงเจดีย์จำลองแบบจากพระธาตุขามแก่น จัดสร้างขึ้น
เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และ มหามังคลานุสรณ์ 200 ปี เมืองขอนแก่น
ความสูงขององค์พระธาตุฯ 80 เมตร มีพระจุลธาตุ 4 องค์ ตั้งอยู่ 4 มุมและมีกำแพงแก้วพญานาค 7 เศียรล้อมรอบ
เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี ผสมผสานศิลปะอินโดจีน ซึ่งเป็นลักษณะแบบชาวอีสานปากแห วัดหนองแวง เดิมชื่อวัดเหนือ
ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2332 พร้อมกับวัดกลาง และวัดธาตุ

โดยท้าวเพียเมืองแพน เจ้าเมืองคนแรก ณ บ้านบึงบอน (บึงแก่นนคร) พ.ศ. 2354 ท้าวจามมุตร ท้ายเพียเมืองแพน
เจ้าเมืองคนที่ 2 ได้ย้ายเมืองไปอยู่บ้านดอนพันชาติเขตเมืองมหาสารคาม (บ้านโนนเมือง ตำบลแพง อำเภอโกสุมพิสัย
จังหวัดมหาสารคาม) บ้านบึงบอนจึงกลายเป็นเมืองเก่าตั้งแต่นั้นมา

Read more »

ประวัติความเป็นมาวัดหนองแวง

wat-nongwaeng

วัดหนองแวง เดิมชื่อวัดเหนือ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2332 พร้อมกับวัดกลางและวัดธาตุ โดยท้าวเพียเมืองแพน เจ้าเมืองคนแรก ณ บ้านบึงบอน (บึงแก่นนคร) ต่อมา พ.ศ.2354 ท้าวจามมุตร ท้ายเพียเมืองแพน เจ้าเมืองคนที่ 2 ได้ย้ายเมืองไปอยู่บ้านดอนพันชาติ เขตเมืองมหาสารคาม (บ้านโนนเมือง ตำบลแพง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม) บ้านบึงบอนจึงกลายเป็นเมืองเก่าตั้งแต่นั้นมา

วัดหนองแวงได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ.2442 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งสุดท้าย เมื่อ พ.ศ. 2527 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร เคยได้รับรางวัลเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ. 2524 และเป็นวัดพัฒนาดีเด่น ปี พ.ศ. 2526 และได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ยกฐานะขึ้นเป็นวัดพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ในปี พ.ศ.2527

ส่วนพระมหาธาตุแก่นนคร เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2533 และสร้างเสร็จเรียบร้อยเมื่อ พ.ศ. 2540

Read more »

. . . . . . .
. . . . . . .