Archive for the ‘วัดในสมุทรปราการ’ Category

วัดมงคลโคธาวาส อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ

วัดมงคลโคธาวาส ตั้งอยู่ใกล้กับตลาดคลองด่าน เป็นวัดที่หลวงพ่อปาน เกจิอาจารย์ชื่อดังในสมัยรัชกาลที่ ๕ เคยจำพรรษาอยู่และพัฒนาวัด จนกลายเป็นวัดสำคัญของอำเภอบางบ่อในปัจจุบัน นอกจากนี้บริเวณด้านหน้าของวัดซึ่งหันหน้าสู่คลองด่านยังเป็นสถานที่ที่เหมาะสำหรับการนั่งพักผ่อนหย่อนใจ การเดินทาง จากสามแยกสมุทรปราการให้เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสุขุมวิทสายเก่า (ทางไปสถานตากอากาศบางปู) ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร เมื่อข้ามสะพานคลองด่านให้เลี้ยวซ้ายบริเวณเชิงสะพานและไปตามถนนทางเข้าวัดมงคลโคธาวาส ผ่านตลาดคลองด่านตรงไปประมาณ ๕๐๐ เมตร จะถึงวัด และสามารถเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ขสมก. สาย ๒๕, ๑๐๒, ๑๔๒, ๑๔๕, ๕๐๗, ๕๐๘, ๕๑๑ และ ๕๓๖ รถโดยสารประจำทางธรรมดา สาย ๒๕, ๑๐๒ และ ๑๔๕ ลงตลาดปากน้ำ แล้วต่อรถประจำทางปากน้ำ-คลองด่าน ถึงตลาดคลองด่านสามารถต่อรถรับจ้างเดินทางถึงวัด

ขอขอบคุณ http://flash-mini.com/

วัดมงคลโคธาวาส (วัดบางเหี้ย)

p33

วัดมงคลโคธาวาส ตั้งอยู่ที่บ้านคลองด่าน หมู่ที่ ๑๑ ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

วัดมงคลโคธาวาส ได้สร้างเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๓๐๐ ไม่ทราบนามผู้สร้าง เดิมมีนามว่า “วัดบางเหี้ยนอก” หรือที่ประชาชนเรียกว่า “วัดหลวงพ่อปาน” ต่อมาทางราชการได้เปลี่ยนนามตำบลบางเหี้ยเป็นตำบลคลองด่าน นามวัดจึงต้องเปลี่ยนให้มีความไพเราะและเหมาะสมขึ้นเป็น “วัดมงคลโคธาวาส” มาจนถึงทุกวันนี้ วัดมงคลโคธาวาส ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลังเมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ในด้านการศึกษาทางวัดได้เปิดสอนพระปริยัติธรรมเริ่มมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๗ นอกจากนี้ยังได้สนับสนุนการศึกษาของชาติ โดยให้ทางราชการสร้างโรงเรียนประชาบาล สอนระดับประถมศึกษาขึ้นในที่วัดด้วย

ขอขอบคุณ http://www.klongdanmunicipality.go.th/

ท่องเที่ยววัดมงคลโคธาวาส เที่ยววัดมงคลโคธาวาส

ตั้งอยู่ใกล้กับตลาดคลองด่าน อำเภอบางบ่อ เป็นวัดที่หลวงพ่อปาน เกจิอาจารย์ชื่อดังในสมัยร ัชกาลที่ 5 เคยจำพรรษาอยู่และพัฒนาวัด จนกลายเป็นวัดสำคัญของอำเภอบางบ่อในปัจจุบัน นอกจากนี้บริเวณด้านหน้าของวัดซึ่งหันหน้าเข้าสู่คลองด่าน ยังเป็นสถานที่ที่เหมาะสำหรับนั่งพักผ่อนหย่อนใจ ติดต่อสอบถามที่ โทร 0 2330 1247, 0 2330 1576

การเดินทาง
จากสามแยกสมุทรปราการให้เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสุขุมวิทสายเก่า (ไปทางสถานตากอากาศบางปู) ประมาณ 30 กิโลเมตร เมื่อข้ามสะพานคลองด่านให้เลี้ยวซ้ายบริเวณเชิงสะพานและไปตามถนนทางเข้าวัดมงคลโคธาวาสผ่านตลาดคลองด่านตรงไปประมาณ 500 เมตร จะถึงวัด การเดินทางด้วยรถโดยสา รประจำทางปรับอากาศ ขสมก. สาย 25, 102, 142, 145, 507, 508, 511 และ 536 รถโดยสารประจำทางธรรมดา สาย 25, 102 และ 145 ลงตลาดปากน้ำ และต่อรถประจำทางปากน้ำ-คลองด่าน ถึงตลาดคลองด่านสามารถต่อรถรับจ้างเดินทางถึงวัด

ขอขอบคุณ http://www.xn--12cbq7db0dleq0a1df6d5bzc9gxffe.com/

ประวัติวัดโคธาวาส จ.สมุทรปราการ

วัดมงคลโคธาวาส ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านคลองด่าน ถนนสุขุมวิท หมู่ที่ 13 ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 45 ไร่ 3 งาน 75 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์ จำนวน 2 แปลง เนื้อที่ 45 ไร่ 2 งาน 38 ตารางวา

อาณาเขต ทิศเหนือ จดถนนคันกั้นน้ำ
ทิศใต้ จดเขตวัดเจริญวราราม
ทิศตะวันออก จดคลองสาธารณะ
ทิศตะวันตก จดคลองด่าน
วัดมงคลโคธาวาส เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2300 ตอนปลายกรุงศรีอยุธยา (เสียกรุงแก่พม่า เมื่อ พ.ศ. 2310) ตามบันทึกกรมการศาสนา เล่ากันว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีนั้น ไทยกับพม่าได้ทำศึกสงครามรบพุ่งกันเป็นระยะเวลายาวนาน ทำให้ราษฎรกลุ่มหนึ่งซึ่งมีฐานะค่อนข้างดี เกิดความเบื่อหน่ายในการรบทัพจับศึก ได้อพยพหนีภัยสงครามพาครอบครัวมาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ใกล้กับแม่น้ำบางเหี้ย มีชื่อเรียกว่า “โคกเศรษฐี” ปัจจุบันเรียกกันว่าบ้านสามเรือน ผู้คนเหล่านี้เมื่อสร้างหลักปักฐานเป็นที่มั่นคงดีแล้ว ได้ร่วมมือร่วมใจกันสร้างวัดมงคลโคธาวาส ขึ้นมาเพื่อเป็นหลักยึดเหนี่ยวจิตใจ ตราบเท่าจนถึงปัจจุบัน
เล่ากันต่อมาว่าที่ตั้งวัดมงคลโคธาวาส ในปัจจุบันนี้นั้น แต่เดิมยังไม่มีบ้านเรือนผู้คนอาศัยอยู่ เป็นป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่อยู่อาศัยของตัวเหี้ยจำนวนมากมาย เมื่อชาวบ้านร่วมมือร่วมใจกันสร้างวัดแล้ว Read more »

วัดโคธาวาส อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ

ตั้งอยู่ใกล้กับตลาดคลองด่าน อำเภอบางบ่อ เป็นวัดที่หลวงพ่อปาน เกจิอาจารย์ชื่อดังในสมัยรัชกาลที่ 5 เคยจำพรรษาอยู่และพัฒนาวัด จนกลายเป็นวัดสำคัญของอำเภอบางบ่อในปัจจุบัน นอกจากนี้บริเวณด้านหน้าของวัดซึ่งหันหน้าเข้าสู่คลองด่าน ยังเป็นสถานที่ที่เหมาะสำหรับนั่งพักผ่อนหย่อนใจ ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร 02-3301247, 02-3301576

การเดินทาง
จากสามแยกสมุทรปราการให้เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสุขุมวิทสายเก่า (ไปทางสถานตากอากาศบางปู) ประมาณ 30 กิโลเมตร เมื่อข้ามสะพานคลองด่านให้เลี้ยวซ้ายบริเวณเชิงสะพาน และไปตามถนนทางเข้าวัดมงคลโคธาวาสผ่านตลาดคลองด่านตรงไปประมาณ 500 เมตร จะถึงวัด การเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ขสมก. สาย 25, 102, 142, 145, 507, 508, 511 และ 536 รถโดยสารประจำทางธรรมดา สาย 25, 102 และ 145 ลงตลาดปากน้ำ และต่อรถประจำทางปากน้ำ-คลองด่าน ถึงตลาดคลองด่านสามารถต่อรถรับจ้างเดินทางถึงวัด

ขอขอบคุณ http://www.annaontour.com/

วัดมงคลโคธาวาส

มงคลโคธาวาส ตั้งอยู่ใกล้กับตลาดคลองด่าน เป็นวัดที่หลวงพ่อปาน เกจิอาจารย์ชื่อดังในสมัยรัชกาลที่ 5 เคยจำพรรษาอยู่และพัฒนาวัด จนกลายเป็นวัดสำคัญของอำเภอบางบ่อในปัจจุบัน นอกจากนี้บริเวณด้านหน้าของวัดซึ่งหันหน้าสู่คลองด่านยังเป็นสถานที่ที่เหมาะสำหรับการนั่งพักผ่อนหย่อนใจ
การเดินทาง : จากสามแยกสมุทรปราการให้เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสุขุมวิทสายเก่า (ทางไปสถานตากอากาศบางปู) ประมาณ 30 กิโลเมตร เมื่อข้ามสะพานคลองด่านให้เลี้ยวซ้ายบริเวณเชิงสะพานและไปตามถนนทางเข้าวัดมงคลโคธาวาส ผ่านตลาดคลองด่านตรงไปประมาณ 500 เมตร จะถึงวัด และสามารถเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ขสมก. สาย 25, 102, 142, 145, 507, 508, 511 และ 536 รถโดยสารประจำทางธรรมดา สาย 25, 102 และ 145 ลงตลาดปากน้ำ แล้วต่อรถประจำทางปากน้ำ-คลองด่าน ถึงตลาดคลองด่านสามารถต่อรถรับจ้างเดินทางถึงวัด

ขอขอบคุณ http://www.zeekway.com/

นมัสการ หลวงพ่อปาน วัดมงคลโคธาวาส

n20130104110458_8687

หลวงพ่อปาน พระเกจิชื่อดังสมัยรัชกาลที่ 5 แม้จะมรณภาพไปนานแล้วแต่ชื่อเสียงและคุณงามความดียังคงอยู่มิเสื่อมคลาย ภายในวัดมงคลโคธาวาส วัดที่หลวงพ่อปานเคยจำพรรษาอยู่ มีรูปหล่อหลวงพ่อปานประดิษฐานอยู่ในห้องโถงชั้นล่างของศาลาการเปรียญ ทุกปีจะมีงานนมัสการหลวงพ่อปานในวัน ขึ้น 5 ค่ำ ถึง ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 12 ตรงกับช่วงเดือนพฤศจิกายน เป็นงานประจำปีของชาวบางบ่อที่จัดต่อเนื่อง

บริเวณหน้าวัดเป็นคลองด่านช่วงก่อนไหลออกทะเล มีประตูน้ำเค็มกั้นและศาลาริมน้ำสำหรับนั่งพักผ่อน ในอดีตป่าโกงกางละแวกนี้รกคลึ้มและอุดมสมบูรณ์เป็นที่อยุ่อาศัยของสัตว์น้อยใหญ่มากมาย โดยเฉพาะ ตะกวด หรือ ” เหี้ย” จนชาวบ้านเรียกขานวัดแห่งนี้ว่า วัดบางเหี้ยนอก ก่อนจะเปลี่ยนเป็นวัดมลคงโคธาวาสในภายหลัง

Read more »

ความสำคัญของแหล่งศิลปกรรม-วัดมงคลโคธาวาส

วัดมงคลโคธาวาส ตั้งอยู่ที่บ้านคลองด่าน หมูที่ ๑๑ ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๔๕ ไร่ ๓ งาน ๒๕ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับ เขตชลประทาน ทิศใต้ติดต่อกับเขตเจริญวราราม ทิศตะวันออกติดต่อกับลำรางสาธารณะ ทิศตะวันตกติดต่อกับ คลองด่าน ที่ธรณีสงฆ์ จำนวน ๔ แปลงเนื้อที่ ๗๔ ไร่ ๑ งาน ๕๕ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๒๐๐๘ ,๓๐๑
พื้นที่ตั้งวัด เป็นที่ราบลุ่ม อยู่ริมคลองด่านหรือคลองบางเหี้ยเดิม ภายในวัดมีอาคารเสนาสนะต่าง ๆ ดังนี้ อุโบสกว้าง ๘.๗๕ เมตร ยาว ๒๗.๕๐ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ กุฎีสงฆ์ จำนวน ๑๙ หลัง เป็นอาคารไม้แบบทรงไทย หอสวดมนต์ สร้าง พ.ศ. ๒๕๐๙ ศาลาการเปรียญจัตุรมุข เริ่มสร้าง พ.ศ. ๒๕๒๒ ขณะนี้กำลังดำเนินการก่อสร้างอยู่ วิหารและมณฑปพระพุทธบาท สำหรับปูชนียวัตถุมี พระประธานในอุโบสถปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๕๙ นิ้ว สูง ๙๗ นิ้ว หลวงพ่อโตในวิหาร รอยพระพุทธบาทจำลอง นอกจากนี้มีพระพุทธรูปปางต่าง ๆ หลายองค์อยู่ที่อุโบสถ
Read more »

วัดมงคลโคธาวาส

t20130104110458_8687

วัดมงคลโคธาวาส ตั้งอยู่ใกล้กับตลาดคลองด่าน อำเภอบางบ่อ เป็นวัดที่หลวงพ่อปาน เกจิอาจารย์ชื่อดังในสมัยรัชกาลที่ 5 เคยจำพรรษาอยู่และพัฒนาวัด จนกลายเป็นวัดสำคัญของอำเภอบางบ่อในปัจจุบัน นอกจากนี้บริเวณด้านหน้าของวัดซึ่งหันหน้าเข้าสู่คลองด่าน ยังเป็นสถานที่ที่เหมาะสำหรับนั่งพักผ่อนหย่อนใจ

หลวงพ่อปาน เกิดที่ตำบลบางเหี้ย ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อ พ.ศ. 2368 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว บิดาเป็นคนจีนไม่ทราบชื่อ มารดาเป็นคนไทยชื่อ นางตาล เมื่อวัยเยาว์หลวงพ่อปานได้บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดอรุณราชวราราม จนครบอายุอุปสมบทที่วัดอรุณราชวราราม เป็นเวลาพอสมควรจึงได้ย้ายมาจำพรรษาที่วัดมงคลโคธาวาส (วัดบางเหี้ย) อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ต่อมาหลวงพ่อปานได้รับพระราชทานสมณศักดิ์จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็น ”พระครูพิพัฒน์นิโรธกิจ” หลวงพ่อปานมรณภาพเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2453 สิริอายุได้ 86 พรรษา

การเดินทาง จากสามแยกสมุทรปราการให้เลี้ยวซ้ายไปตามถนนสุขุมวิทสายเก่า (ไปทางสถานตากอากาศบางปู) ประมาณ 30 กิโลเมตร เมื่อข้ามสะพานคลองด่านให้เลี้ยวซ้ายบริเวณเชิงสะพานและไปตามถนนทางเข้าวัดมงคลโคธาวาสผ่านตลาดคลองด่านตรงไปประมาณ 500 เมตร จะถึงวัด

Read more »

ประวัติความเป็นมาวัดมงคลโคธาวาส

002

บรรพบุรุษของหลวงพ่อปานอพยพมาจากกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาแตกเสียแก่พม่าครั้งที่ 2 ( พ.ศ. 2310 ) มาตั้งรกรากที่บ้านสามเรือนหรือที่เรียกว่า “หมู่บ้านโคกเศรษฐี”
เพราะพวกที่อพยพมาในครั้งนั้น ล้วนแต่เป็นเศรษฐีทั้งสิ้น แต่เดิมในบริเวณนี้ยังเป็นป่ารก มีแม่น้ำสายหนึ่งไหลผ่านป่าดงพงพี มาออกที่ทะเลบางเหี้ย และในทุกครั้งที่มีน้ำทะเลขึ้น น้ำเค็มจะทะลักเข้าไปตามแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ จนเป็นเหตุให้ชาวบ้านที่อาศัยปลูกบ้านเรือนอยู่ในแถบนี้ ต้องได้รับความเดือนร้อนอยู่เป็นนิจ และเขตที่น้ำทะเลและน้ำจืดมาพบกันนี้
ต่อมาชาวบ้านได้ช่วยกันทำประตูระบายน้ำ เพื่อกั้นระหว่างน้ำเค็มและน้ำจืด และป้องกันสัตว์เลื้อยคลานคือตัวเหี้ย ที่ชอบขโมยสัตว์เลี้ยง ปู ปลา กินเป็นอาหาร ไม่ให้แพร่หลายไปตามลำคลองต่าง ๆ อีกด้วย
ด้วยเหตุนี้ชาวบ้านจึงตั้งชื่อหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านบางเหี้ย” และตั้งชื่อแม่น้ำนี้ว่า แม่น้ำ “บางเหี้ย” ตลอดจนการตั้งชื่อวัด ก็ตั้งว่าวัดบางเหี้ย เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงของสถานที่ดังกล่าว และยังมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า ในบรรดาเศรษฐีที่อพยพมาในครั้งนั้น มีเศรษฐีครอบครัวหนึ่ง มีบุตรอันเป็นที่รักสุดสวาท เขารักและตามใจลูกมาก และได้คิดเอาทองคำมาทำเป็นตัวเหี้ยขนาดเด็กขึ้นไปนั่งขี่ได้ขึ้นมา เพื่อให้ลูกลากเล่นอย่าง
Read more »

วัดป่าเกด อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ [ ภาคกลาง ]

110413a81

วัดป่าเกด ตั้งอยู่เลขที่ ๒๔ หมู่ ๓ ถนนเพชรหึงษ์ ตำบลทรงคนอง มีพระอุโบสถเก่าแก่ที่สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) ในสมัยรัชกาลที่ ๓ หน้าบันพระอุโบสถทำด้วยไม้แกะสลักรูปพระนารายณ์ทรงครุฑยุดนาค ล้อมรอบด้วยลายเครือเถาอันอ่อนช้อยงดงาม การเดินทาง จากวัดทรงธรรมไปตามถนนเพชรหึงษ์ประมาณ ๓ กิโลเมตร วัดป่าเกดจะอยู่ริมถนนด้านขวามือ

ขอขอบคุณ http://flash-mini.com/

ประวัติวัดป่าเกด

วัดป่าเกด ตั้งอยู่เลขที่ 24 บ้านป่าเกด ถนนเพชรหึงษ์ หมู่ที่ 3 ตำบลทรงคะนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 8 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา
อาณาเขต ทิศเหนือ จดที่ดินของนางสวน ชื่อสำราญ
ทิศตะวันออก จดที่ดินของนายพะยอม ชื่นสำราญ
วัดป่าเกด ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2360 เดิมมีชื่อว่า “วัดถนนเกด” เพราะมีประวัติว่า ตาเกด เป็นคนขุดถนนเข้าวัดเป็นคนแรก และบริเวณวัดมีต้นเกดขึ้นอยู่มากมาย ต่อมาจึงเรียกว่า “วัดป่าเกด” วัดนี้สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 ครั้นถึงรัชกาลที่ 3 สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นประธานร่วมกับกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ วังหน้าในรัชกาลที่ 2 ได้สร้างอุโบสถวัดป่าเกด หน้าบันเป็นรูปครุฑ
ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2509 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

ขอขอบคุณ http://spk.onab.go.th/

วัดป่าเกด

20140115_55_1389770904_716268

วัดป่าเกด เป็นวัดเก่าแก่ ที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 มีความงดงามและความโด่ดเด่น ที่สุดของพระอุโบสถหลังเก่า คือ หน้าบันไม่แกะสลักรูปนารายณ์ทรงครุฑและลายเครือเถา ส่วนด้นหน้าและด้านหลังมีเสาเหลี่ยมปลายสอบขนาดใหญ่ ภายในมีภาพจิตกรรมฝาผนังฝีมือช่างหลวง สมัยรัชกาลที่ 3 ต่อมาในสมัย พ.ศ. 2510 กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนวัดแห่งนี้เป็นโบราณสถานของชาติ และกำลังอยู่ในระหว่างการบูรณะให้กลับมางดงาม เป็นศาสนสถานที่ชาวชุมชนภาคภูมิใจ

เวลาเปิดทำการ :
จันทร์ 06:00 – 05:00
อังคาร 06:00 – 05:00
พุธ 06:00 – 05:00
พฤหัส 06:00 – 05:00
ศุกร์ 06:00 – 05:00
เสาร์ 06:00 – 05:00
อาทิตย์ 06:00 – 05:00

ขอขอบคุณ http://www.painaidii.com/

ประวัติความเป็นมาของวัดป่าเกด

20140115_55_1389770904_800820

ประวัติความเป็นมา ของวัดป่าเกด เดิมชื่อ ” วัดถนนเกด ” ตาเกดเป็นคนขุดถนนเข้าวัดเป็นคนแรก และบริเวณวัดมีต้นเกดขึ้นมากมายต่อมาจึงเรียกว่า ” วัดป่าเกด ” สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 เมื่อคราวฟื้นฟูพระพุทธศาสนาทั่วราชอาณาจักร ประมาณ พ.ศ 2360 ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 3 สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นประธานร่วมกันกับกรมหมื่นเจษดาบดินทร์ วังหน้าในรัชกาลที่ 2 ได้มาสร้างอุโบสถวัดป่าเกด หน้าบันเป็นรูปครุฑลวดลายวิจิตรตระการตา สันนิษฐานว่าหลังจากได้สร้างพระสมุทรเจดีย์กลางน้ำแล้วจึงได้มาสร้างอุโบสถ นี้ขึ้น สำหรับภาพจิตรกรรมฝาผนังนั้นเป็นฝีมือช่างหลวงเรียกว่า ” ช่างสิบหมู่ ” ขณะนี้ทรุดโทรม วัดป่าเกดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลังเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ 2509 ในด้านการศึกษา ทางวัดสนับสนุนให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษาเปิดสอนพระปริยัติธรรมอย่างกว้าง ขวางตลอดมา ขณะนี้มีนักธรรมที่เป็นพระภิกษุ 10 รูป สามเณร 3 รูป นอกจากนี้ยังได้ให้ทางราชการสร้างโรงเรียนประชาบาลสอนระดับประถมศึกษาและ สถานีอนามัยขึ้นในที่วัดอีกด้วย

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ภายในพระอุโบสถหลังนี้ มีสิ่งที่ควรชม อย่างยิ่งคือ จิตรกรรมฝาผนัง หรือภาพเขียนสีของ ไทยแต่โบราณ นับเป็นจิตรกรรมที่มีความประณีตงดงาม มาก ถึงแม้ว่าบางส่วนจะชำรุดไปบ้างก็ ตาม แต่ที่เหลือยังมีเรื่องราวบริบูรณ์พอชม ได้ โดยเฉพาะที่ผนังด้านหน้าพระประธาน อยู่สูง เหนือขอบประตูขึ้นไปเป็นภาพพระพุทธรูปปาง มารวิชัย ข้างขวาเป็นทัพพญามารที่มุ่งจิ ตจะทำร้ายพระพุทธองค์ฝาผนังด้านซ้ายมี รูปนักดนตรี มีหมู่ภาพการลงโทษในสมัย โบราณซึ่งมีการทรมานและประหารชีวิตด้วยวิธีการ ต่างๆมีภาพทิ้งทานมะนาวในงานศพ ซึ่งมี สตางค์ใส่อยู่ในผลมะนาว อีกด้านหนึ่งทางขวา มือ ตอนแรกเป็นภาพการสงครามซึ่งมียุทธหัตถี และการรบบนหลังม้า มีรูปปราสาทราชวัง อีกรูปหนึ่งเป็นเรื่องกรีฑาทัพช้าง ท่านผู้รู้ อธิบายว่าเป็นฝีมือช่างหลวงรัชกาลที่ ๓ ส่วนพระอุโบสถนั้นเก่าแก่มากจนแทบจะหา ช่อฟ้าใบระกาไม่ได้ แต่ยังความปราณีตสวยงาม ให้เห็นอยู่บ้าง คือลายจำหลักที่หน้าบันเป็น รูปพระนารายณ์ทรงครุฑในลวดลายเครือเถา

Read more »

วัดป่าเกด

วัดป่าเกด

110413a81

เป็นวัดเก่าแก่ เดิมชื่อวัดถนนเกด ซึ่งตาเกดเป็นผู้ขุดถนนสร้างทางเข้าวัดเป็นคนแรก บริเวณรอบวัดมีต้นเกดขึ้นอยู่มากมาย ต่อมาจึงเรียกว่า วัดป่าเกด สร้างในสมัยรัชกาลที่ 2 เมื่อคราวฟื้นฟูพระพุทธศาสนาทั่วราชอาณาจักร ประมาณ พ.ศ.2360 ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 3 สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นประธานร่วมกับกรมหมื่นเจษดาบดินทร์ วังหน้าในรัชกาลที่ 2 ได้มาสร้างอุโบสถวัดป่าเกด หน้าบันเป็นรูปครุฑลวดลายวิจิตรตระการตา สันนิษฐานว่าหลังจากได้สร้างพระสมุทรเจดีย์กลางน้ำแล้ว จึงได้มาสร้างอุโบสถนี้ขึ้น

ขอขอบคุณ http://www.thaitambon.com/

. . . . . . .
. . . . . . .