Posts Tagged ‘วัดป่าแสงอรุณ’

วัดป่าแสงอรุณ จ.ขอนแก่น

241862

สิมอีสาน (วัดป่าแสงอรุณ) ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดป่าแสงอรุณ ตำบลพระลับ ห่างจากศาลากลางจังหวัดขอนแก่นประมาณ 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางขอนแก่น-กาฬสินธุ์ สิมอีสาน ได้เน้นถึงรูปแบบ ทรวดทรง ความมั่นคงสามารถคุ้มแดดคุ้มฝน ตลอดจนความวิจิตรงดงามของภาพเขียนฝาผนังลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อันเป็นการปลูกฝังแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ดีต่อไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดขอนแก่นตลอดไป

ขอขอบคุณ http://www.annaontour.com/

ภาคอีสาน–วัดป่าแสงอรุณ

37_20100824111631.

ภาคอีสาน ภูมิภาคที่วิถีความเป็นอยู่เคียงคู่กับพุทธศาสนามาตั้งแต่อดีตกาล ซึ่งสังเกตุได้จากความเจริญรุ่งเรืองของวัดวาอารามที่มีมากไม่แพ้ภาคอื่นๆของประเทศ “วัดป่าแสงอรุณ” ถือเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของความเจริญรุ่งเรืองของพุทธศาสนาในภาคอีสาน

วัดป่าแสงอรุณ เป็นวัดที่ตั้งอยู่ที่ บ้านเลิงเปือย ถนนขอนแก่น- กาฬสินธุ์ หมูที่ 1 ตำบลพระลับอำเภอ เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นโดยพุทธสถานที่โดดเด่นของวัดแห่งนี้คือ สิมอีสาน นั่นเอง

หลายคนคงสงสัยว่า สิมอีสาน คืออะไร ซึ่งคำว่า สิม นั้นหมายถึง อุโบสถ ซึ่งที่วัดป่าแสงอรุณนั้นมีสิมที่มีความวิจิตรงดงามมาก ไม่ว่าจะเป็นอาคารและภาพเขียนฝาผนังลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น

Read more »

สิมอีสาน (วัดป่าแสงอรุณ) ขอนแก่น

1405180755-43551

สิมอีสาน (วัดป่าแสงอรุณ) ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดป่าแสงอรุณ ตำบลพระลับ ห่างจากศาลากลางจังหวัดขอนแก่นประมาณ 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางขอนแก่น-กาฬสินธุ์ สิมอีสาน ได้เน้นถึงรูปแบบ ทรวดทรง ความมั่นคงสามารถคุ้มแดดคุ้มฝน ตลอดจนความวิจิตร งดงามของภาพเขียนฝาผนัง ลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อันเป็นการปลูกฝังแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ดีต่อไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดขอนแก่นตลอดไป

ขอขอบคุณ http://www.hoteldirect.in.th/

วัดป่าแสงอรุณ

241863

วัดป่าแสงอรุณ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต มีเนื้อที่ 39 ไร่ ตั้งอยู่เลขที่ 449 หมู่ที่ 9 บ้านเลิงเปือย (แอวมอง) ต.พระลับ อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40000โทรศัพท์ 0-4322-1132 อยู่ห่างจากตัวเมืองขอนแก่น ประมาณ 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางขอนแก่น-กาฬสินธุ์

เมื่อปี พ.ศ.2473 การก่อตั้งวัดมีประวัติความเป็นมาจากพระอาจารย์เทสก์ เทศรังสี (หลวงปู่เทสก์) จากวัดหินหมากเป้ง จังหวัดหนองคาย พร้อมด้วยพระอาจารย์ปิ่น ปัญญาพโล ศิษยานุศิษย์ ได้ออกปฎิบัติกัมมัฎฐานมายังบริเวณที่ตั้งวัดในปัจจุบัน และได้มีการสร้างวัดขึ้น แต่ยังไม่มีการตั้งชื่อวัดในขณะนั้น พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร ได้มาอยู่จำพรรษาในระยะแรกมีการเรียกชื่อวัดว่า “วัดป่าพระคือ” เนื่องจากชาวบ้านพระคือให้ความอุปถัมภ์มาก่อน ในขณะนั้นหมู่บ้านเลิงเปือย ซึ่งเป็นที่ตั้งวัดยังเป็นหมู่บ้านขนาดเล็กและมีวัดประจำหมู่บ้านอยู่แล้ว ต่อมาวัดที่คุ้มโนนตาลร้างไป ชาวบ้านจึงได้หันมาอุปถัมภ์วัดป่าพระคือแทน ต่อมามีการตั้งชื่อวัดขึ้นใหม่ ชื่อว่า “วัดป่าแสงอรุณ”

Read more »

“สิมอิสาน” ที่วัดป่าแสงอรุณ

001_0

มีวัดป่ากรรมฐานอีกมากที่เป็นวัดป่าปฏิบัติสายหลวงปู่มั่น โดยเฉพาะจังหวัดทางภาคอิสานมีวัดที่เป็นวัดปฏิบัติล้วนๆมากกว่าสี่-ห้าวัด บางวัดไม่เป็นที่เปิดเผยแก่สาธารณชนมากนัก เพราะวัดป่ากรรมฐานเป็นสถานที่ที่ต้องการความสงบ สัปปายะ เพื่อปฏิบัติธรรมภาวนาเพื่อมรรคผล เว้นไว้เป็นกรณีไป วัดป่ากรรมฐาน สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ในจังหวัดขอนแก่นที่ตั้งขึ้นช่วงไล่เลี่ยกันในปี พ.ศ. 2471-2473 สมัยที่พระครูพิศาลอรัญญเขต (หลวงปู่จันทร์ เขมิโย) อดีตเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น (ธรรมยุต) วัดศรีจันทร์ อำเภอเมือง ได้นิมนต์หลวงปู่สิงห์ ขันตยาคโม, หลวงปู่มหาปิ่น ปญฺญาพโล ซึ่งขณะนั้นอยู่ในระหว่างปฏิบัติศาสนกิจที่จังหวัดอุบลราชธานี มาช่วยศาสนกิจที่จังหวัดขอนแก่นมีอยู่สองวัด หลวงปู่สิงห์พร้อมด้วยพระอาจารย์กรรมฐานหลายรูป เช่นหลวงปู่ฝั้น อาจาโร, หลวงปู่คูณ, หลวงปู่คำดี, หลวงปู่อุ่น,หลวงปู่อ่อน, หลวงปู่สีโห, หลวงปู่สิม,หลวงปู่เพ็ง, พระอาจารย์เกียรติ มาตั้งวัด ณ บริเวณ โคกเหล่างา (วัดป่าวิเวกธรรมซึ่งได้เสนอไปใฉบับที่แล้ว) ส่วนอีกวัดหนึ่งนั้นหลวงปู่มหาปิ่นซึ่งแยกมากับหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี (วัดหินหมากเป้ง) หลวงปู่หลุย จนฺทสโร ,หลวงปู่ภูมี, หลวงปู่สีลาสีลา,หลวงปู่กงมา และหลวงปู่แดง (พระสุธรรมคณาจารย์) วัดประชานิยม มาจำพรรษาอยู่ ณ ดอนปู่ตา “บ้านพระคือ” จึงถือว่าผู้ที่เริ่มการบุกเบิกในการก่อตั้งและสร้างวัดป่าแสงอรุณ คือ หลวงปู่มหาปิ่นและ หลวงปู่เทสก์

Read more »

พระธรรมดิลก ครูภูมิปัญญาไทยขอนแก่น –วัดแสงป่าอรุณ

ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ในการดำรงเพศบรรพชิต พระธรรมดิลก เจ้าคณะภาค 9 (ธรรมยุต) มีผลงานและคุณสมบัติต่างๆ เป็นที่ยกย่องเชิดชูมากมาย ทั้งในด้านการบริหารและด้านวิชาการ อีกทั้งเป็นผู้ที่สมบูรณ์ด้วยศีลาจารวัตร งดงามด้วยการครองตน เปี่ยมไปด้วยเมตตา เป็นที่ยอมรับและเลื่อมใสศรัทธาแก่สาธุชนอย่างมาก

ปัจจุบัน พระธรรมดิลก (สมาน สุเมโธ) สิริรวมอายุ 61 พรรษา 42 ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าแสงอรุณ ต.พระลับ อ.เมือง จ.ขอนแก่น, เจ้าคณะภาค 9 (ธรรมยุต) และรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน จ.ขอนแก่น ฯลฯ

อัตโนประวัติ พระธรรมดิลก มีนามเดิมว่า สมาน อุบลพิทักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2488 ที่บ้านเลขที่ 105 ม.9 ต.พระลับ อ.เมือง จ.ขอนแก่น โยมบิดา-มารดา ชื่อ นายไหลและนางอ่อน อุบลพิทักษ์

สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านพระ ต.พระลับ ก่อนเข้าพิธีบรรพชาเป็นสามเณร วันที่ 18 กรกฎาคม 2502 วัดศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น โดยมีพระวินัยสุนทรเมธี เป็นพระอุปัชฌาย์

Read more »

การตั้งชื่อวัดแสงป่าอรุณ

normal_ÇÑ´»èÒáʧÍÃس

วัดป่าแสงอรุณ เมื่อตั้งครั้งแรกยังไม่มีชื่อวัดเลยทีเดียว เรียกกันแต่ว่า “วัดป่าพระคือ” เพราะพระอาจารย์ผู้นำพาสร้างย้ายมาจากดอนปู่ตา (วัดสมศรี) ทั้งได้รับการอุปถัมภ์จากชาวบ้านพระคือมาก่อน ครั้นมาถึงช่วงระยะที่ท่านพระอาจารย์สอน พระอาจารย์ครูจันทร์ เป็นเจ้าอาวาส เห็นว่าถึงฤดูกาลงานประจำปี มีการนิมนต์พระตามวัดต่างๆ มารับกัณฑ์เทศน์ เป็นการไม่สะดวก ไม่อาจระบุชื่อวัดให้แน่นอนได้ จึงคิดตั้งชื่อวัดขึ้น ครั้งแรกให้ชื่อว่า วัดป่าอรุโณ (คงหมายถึง อรุโณทัย) ต่อมาท่านเจ้าคุณพระวินัยสุนทรเมธี (ต่อมาได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชสุเมธี) วัดศรีจันทร์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น (ธรรมยุต) เห็นว่าเป็นชื่อที่ขาดๆ วิ่นๆ ฟังไม่เพราะ มีเนื้อความไม่สมบูรณ์ จึงเปลี่ยนเสียใหม่ว่า “วัดป่าแสงอรุณ” จวบจนทุกวันนี้
ขอขอบคุณ http://www.dhammajak.net/

ความเป็นมาของวัดป่าแสงอรุณ

ในปี พ.ศ. 2473 พระครูพิศาลอรัญญเขต (หลวงปู่จันทร์ เขมิโย) อดีตเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น (ธรรมยุต) วัดศรีจันทร์ อำเภอเมือง ได้นิมนต์พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตฺยาคโม, พระอาจารย์พระมหาปิ่น ปญฺญาพโล ซึ่งขณะนั้นอยู่ในระหว่างปฏิบัติศาสนกิจที่จังหวัดอุบลราชธานี มาช่วยศาสนกิจที่จังหวัดขอนแก่น พระอาจารย์สิงห์พร้อมด้วยพระอาจารย์กรรมฐานหลายรูป เช่น พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร, พระอาจารย์คูณ, พระอาจารย์ดี, พระอาจารย์อุ่น, พระอาจารย์อ่อน, พระอาจารย์สีโห, พระอาจารย์สิม, พระอาจารย์เพ็ง, พระอาจารย์เกียรติ เป็นต้น มาตั้งวัด ณ บริเวณ โคกเหล่างา (ปัจจุบัน วัดวิเวกธรรม) ส่วนอาจารย์พระมหาปิ่น พร้อมด้วยพระอาจารย์เทสก์ เทสรังสี วัดหินหมากเป้ง พระอาจารย์หลุย จนฺทสโร พระอาจารย์ภูมี พระอาจารย์สีลา พระอาจารย์กงมา และ พระอาจารย์แดง (พระสุธรรมคณาจารย์) วัดประชานิยม เป็นต้น ไปจำพรรษา ณ ดอนปู่ตา (ปัจจุบัน วัดสมศรี) บ้านพระคือ

กลางปีพุทธศักราช 2473 พระอาจารย์เทสก์ เทสรังสี พร้อมด้วยพระอาจารย์กรรมฐานหลายรูป ได้ออกมาพักปฏิบัติธรรม ณ บริเวณสถานที่สร้างวัดป่าแสงอรุณในปัจจุบัน ต่อมาอาจารย์พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล ซึ่งมีอายุพรรษามากกว่าทุกรูปได้ออกมาจากดอนปู่ตา (วัดสมศรี) มาอยู่จำพรรษาร่วมกับพระอาจารย์เทสก์ จึงถือว่าผู้ที่เริ่มการบุกเบิกในการก่อตั้งและสร้างวัดป่าแสงอรุณครั้งแรก คือ พระอาจารย์เทสก์ และพระอาจารย์มหาปิ่น ดังที่ทราบอยู่โดยทั่วไปนั่นเอง

Read more »

วัดป่าแสงอรุณ Wat Pa Saeng Arun ( Sim Isan )

241034

ภายในวัดป่าแสงอรุณ มี สิมอีสาน ที่เน้นถึงรูปแบบ ทรวดทรง ความมั่นคงสามารถคุ้มแดดคุ้มฝน ตลอดจนความวิจิตรงดงามของภาพเขียนฝาผนังลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อันเป็ นการปลูกฝังแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ดีต่อไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดขอนแก่นตลอดไป

ขอขอบคุณ http://travel.edtguide.com/

สถานที่ท่องเที่ยว:สิมอีสาน (วัดป่าแสงอรุณ)

1251641838

ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดป่าแสงอรุณ ตำบลพระลับ ห่างจากศาลากลางจ ังหวัดขอนแก่นประมาณ 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางขอนแก่น-กาฬสินธุ์ สิมอีสาน ได้เน้นถึงรูปแบบ ทรวดทรง ความมั่นคงสามารถคุ้มแดดคุ้มฝน ตลอดจนความวิจิตรงดงามของภาพเขียนฝาผนังลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึ กษาเรียนรู้และอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อันเป็นการปลูกฝังแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ดีต่อไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดขอนแก่นตลอดไป

ขอขอบคุณ http://www.hotsia.com/

สิมอีสาน วัดป่าแสงอรุณ

1251641754

สิมอีสาน (โบสถ์วัดป่าแสงอรุณ) “โบสถ์” ชาวอีสานเรียกว่า “สิม” ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดป่าแสงอรุณ เลขที่ ๔๔๙ บ้านเลิงเปือย (บ้านแอวมอง) หมู่ที่ ๙ ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต อยู่ห่างจากตัวศาลากลางเมืองขอนแก่นไปทางทิศตะวันออก ประมาณ ๓ กิโลเมตร วัดป่าแสงอรุณได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๒๘ สร้างวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓

โบสถ์วัดป่าแสงอรุณ มีลักษณะของสถาปัตยกรรมแบบอีสานตอนบน ผสมกับสถาปัตยกรรมภาคกลาง ด้านหน้าสู่ทิศตะวันออก มีความกว้าง ๑๕ เมตร ความยาว ๓๔ เมตร ปลียอดบนทำด้วยโลหะทองคำบริสุทธิ์สูงจากพื้น ๖๐ เมตร จำนวนเสา ๕๒ ต้น หน้าต่าง ๑๔ ช่อง ประตู ๓ ช่อง หลังคามุงด้วยกระเบื้องเกล็ดปลาสีแดงส้มแบบโบราณ มีหอระฆัง ๔ หอที่มุมกำแพงแก้วทั้งสี่มุม ใช้ระยะเวลาก่อสร้าง ๙ ปี ใช้งบประมาณ ๔๙ ล้านบาทถ้วน

Read more »

วัดป่าแสงอรุณ จ.ขอนแก่น

สิมอีสาน ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดป่าแสงอรุณ ตำบลพระลับ ห่างจากศาลากลางจังหวัดขอนแก่นประมาณ 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางขอนแก่น-กาฬสินธุ์ สิมอีสาน ได้เน้นถึงรูปแบบ ทรวดทรง ความมั่นคงสามารถคุ้มแดดคุ้มฝน ตลอดจนความวิจิตรงดงามของภาพเขียนฝาผนังลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อันเป็นการปลูกฝังแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ดีต่อไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดขอนแก่นตลอดไป

ขอขอบคุณ http://th.wikipedia.org/

การเดินทาง วัดแสงป่าอรุณ

โดยรถยนต์
เส้นทางที่ 1 ขอนแก่นอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปตามทางรถยนต์ 445 กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถึงจังหวัดสระบุรี ตรงหลักกิโลเมตรที่ 107 แยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ผ่านจังหวัดนครราชสีมาถึงจังหวัดขอนแก่น
เส้นทางที่ 2 ใช้เส้นทางจากกรุงเทพฯ ถึงสระบุรีแล้วตรงไปตามถนนสระบุรี-ลำนารายณ์ แยกขวาเข้าเส้นทางม่วงค่อม-ด่านขุนทด-ชัยภูมิ-ขอนแก่น หรือสระบุรี-ลำนารายณ์-อำเภอเทพสถิตย์-ชัยภูมิ-อำเภอมัญจาคีรี-อำเภอพระยืน-ขอนแก่น
โดยรถประจำทาง
จากกรุงเทพฯ ขึ้นรถโดยสารที่สถานีขนส่งสายตะวันออกเฉียงเหนือ ถนนกำแพงเพชร 2 มีรถโดยสารธรรมดา รถปรับอากาศ และรถนอนพิเศษชนิด 24 ที่นั่ง วิ่งบริการทุกวัน ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 ชั่วโมง
โดยรถไฟ
จากกรุงเทพฯ ขึ้นรถไฟที่สถานีรถไฟหัวลำโพง ถึง สถานีรถไฟขอนแก่น
โดยเครื่องบิน
จากกรุงเทพฯ ใช้บริการเที่ยวบิน กรุงเทพฯ-ขอนแก่น ของสายการบินต่างๆ ได้ทุกวัน ใช้เวลาเดินทาง 50 นาที

ขอขอบคุณ http://www.teeteawthai.com/

จุดเด่นและสิ่งที่น่าสนใจ วัดป่าแสงอรุณ

สิมอีสาน (อุโบสถ) ที่เน้นถึงรูปแบบ ทรวดทรง ความมั่นคงสามารถคุ้มแดดคุ้มฝน ตลอดจนความวิจิตรงดงามของภาพเขียนฝาผนังลายผ้าไหมมัดหมี่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดขอนแก่น เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้และอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น อันเป็นการปลูกฝังแนวความคิดสร้างสรรค์ที่ดีต่อไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดขอนแก่นตลอดไป

กิจกรรมสำหรับนักท่องเที่ยว
ชมความงดงามของสิมอีสาน กราบไหว้ “หลวงปู่ขาว” พระประธานประจำวัด และ “พระพุทธสังสิโยภาสสุขพิพัฒน์” พระประธานในสิมอีสาน ชมพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งวิถีชาวชนบทอีสาน ให้อาหารปลาที่วังปลาหมึกยักษ์ และพักผ่อนหย่อนใจที่น้ำตกจำลอง สวนหย่อม

เวลาทำการ
เปิดให้เข้าชมทุกวัน

Read more »

วัดป่าแสงอรุณ Wat Pa Saeng Arun

วัดป่าแสงอรุณ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต ตั้งอยู่ที่บ้านเลิงเปือย ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น อยู่ห่างจากตัวเมืองขอนแก่นไป 3 กิโลเมตร ตามเส้นทางขอนแก่น-กาฬสินธุ์ วัดมีเนื้อที่ 39 ไร่

ปูชนียสถาน/ปูชนียวัตถุ
อุโบสถ (สิมอีสานประยุกต์) เป็นสถาปัตยกรรมแบบอีสานตอนบนผสมผสานกับสถาปัตยกรรมส่วนกลาง เพื่อให้สวยโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว กว้าง 15 เมตร ยาว 34 เมตร สูงจากพื้นดินเดิม 60 เมตร เสา 52 ต้น หน้าต่าง 14 ช่อง ประตู 3 ช่อง หลังคามุงด้วยกระเบื้องเกล็ดปลาแบบโบราณ มีหอระฆัง 4 หอ ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วที่มั่นคงถาวรโดยตลอด
พระประธานประจำวัดมีชื่อว่า “หลวงปู่ขาว” เป็นพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร (ปางมารวิชัย) สมัยเชียงแสน ขนาดหน้าตักกว้าง 11 นิ้ว สูง 1 ฟุตเศษ ซึ่งเป็นพระคู่บารมีของวัด
พระประธานในสิมอีสานมีชื่อว่า “พระพุทธสังสิโยภาสสุขพิพัฒน์” เป็นพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร ขนาดหน้าตักกว้าง 69 นิ้ว สูง 2 เมตรเศษ มีลักษณะงดงาม และเป็นศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั่วไป
ศาลาหลวงพ่อองค์ดำ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธปฎิมาองค์ดำจำลองมาจากมหาวิทยาลัยนาลันทา ประเทศอินเดีย มีพระประจำวันเกิดครบทุกวัน และมีรูปเหมือนพระบูรพาจารย์สำคัญ 2 รูปคือหลวงปู่มั่น และหลวงปู่เทสก์

Read more »

. . . . . . .
. . . . . . .