Archive for the ‘วัดในนนทบุรี’ Category

วัดเฉลิมพระเกียรติ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร

E12121040-14

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่3) เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติในปี พ.ศ. 2367 นั้น พระองค์ทรงสถาปนาสมเด็จพระราชชนนีแห่งพระองค์ขึ้นเป็นกรมสมเด็จพระศรีสุลาไลยด้วย ต่อมาทรงพระราชดำริว่าบริเวณป้อมปราการ (ชื่อว่าป้อมทับทิม) ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาใต้ตลาดขวัญ เมืองนนทบุรี เป็นนิวาสถานเดิมแห่งพระอัยกา(ตา) พระอัยกี(ยาย) ของพระองค์ และยังเป็นสถานที่ประสูติของสมเด็จพระศรีสุลาไลยพระราชชนนีพันปีหลวง สมควรที่จะสถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวงสักแห่งหนึ่ง เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติแด่ พระอัยกา พระอัยกี และสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงแห่งพระองค์ ด้วยเหตุนี้โปรดให้พระยาคลัง (ดิศ บุนนาค) ตำแหน่งที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กองสร้างวัดขึ้นในบริเวณนั้น และโปรดให้สร้างป้อมปราการ ก่ออิฐถือปูน มีใบเสมาเป็นทำนองเดียวกันกับพระบรมมหาราชวังรอบวัดไว้เป็นอนุสรณ์ด้วย พระราชทานนามวัดแห่งนี้ว่า วัดเฉลิมพระเกียรติ เมื่อปี พ.ศ. 2390

ขอขอบคุณ http://2g.pantip.com/

 

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร วัดงามสถาปัตยกรรมเด่นริมแม่น้ำเจ้าพระยา

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร-12

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร จ. นนทบุรี เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองของชาวนนทบุรีอายุกว่า 100 ปี

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือรัชกาลที่ 3 (พ.ศ.2367-2394) โปรดเกล้าฯ สร้างขึ้นก่อนเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ.2390 ณ บริเวณนิวาสสถานเดิมของพระอัยกา (ตา) พระอัยกี (ยาย) และสมเด็จพระศรีสุลาลัยพระบรมราชชนนี เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติแด่ทั้ง 3 พระองค์ และพระราชทานนามว่า “วัดเฉลิมพระเกียรติ” แล้วโปรดเกล้าฯ ให้สร้างกำแพงแก้ว และป้อมปราการทั้งสี่มุมดูสง่างดงาม เพราะในอดีตพื้นที่นี้เคยเป็นที่ตั้งของป้อมปราการเก่าแก่มาก่อน การก่อสร้างวัดเฉลิมพระเกียรติฯในสมัยรัชกาลที่ 3 ยังไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์ รัชกาลที่ 4จึงทรงรับภารกิจดำเนินการสร้างจนสำเสร็จเรียบร้อย และได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ให้งดงามเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

ถัดมาด้านใต้เป็นพระวิหารหลวงของวัดเฉลิมพระเกียรติฯ หรือที่เรียกกันว่า “วิหารพระศิลาขาว” รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระประธาน “พระศิลาขาว” มาประดิษฐานไว้ภายในเมื่อปี พ.ศ. 2401 ใกล้ๆ กันยังเป็นที่ตั้งพระวิหารหลวง ศิลปะแบบไทยปนจีนเช่นกัน ภายในประดิษฐาน “พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์”

Read more »

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร อยู่ที่ซอยเฉลิมพระเกียรติ 15 เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา รัชกาลที่ 3ทรงสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2390 เพื่อถวายพระอัยกา พระอัยกีและสมเด็จพระราชชนนี มาสร้างแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ 4 ภายในเขตพระอารามมีความสงบ สะอาด ร่มรื่น ศิลปะสถาปัตยกรรมอนุรักษ์รูปแบบเดิมไว้ แม้สิ่งก่อสร้างต่างๆ ก็มีความกลมกลืนกับสถาปัตย์เดิม

วัดนี้ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2536 จากสมาคมสถาปนิกสยาม สถาปัตยกรรมในวัดที่น่าสนใจได้แก่

พระอุโบสถ เป็นศิลปะแบบพระราชนิยมในรัชกาลที่ 3 (คือ ศิลปะที่ได้รับอิทธิพลจากจีนมาผสม) หลังคามุงด้วยกระเบื้องรางดินเผาชนิดกาบกล้วยไม่เคลือบสี ถือปูนทับแนวทำเป็นลอนลูกฟูกแบบเก๋งจีน หน้าบันประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสี สลับลวดลายใบดอกพุดตาน กระจังฐานพระ ช่อฟ้าใบระกา ประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีสลับลายจากประเทศจีน ผนังด้านในเขียนสีลายพุ่มข้าวบิณฑ์ก้านแย่ง มีช่อดอกพุดตานภายใน เพดานลายฉลุปิดทอง ซุ้ม ประตูหน้าต่างประดับลายปูนปั้นรูปใบและดอกพุดตาน พื้นประดับกระจก ผนังภายในพระอุโบสถเขียนสีลายดอกไม้ร่วง บานประตูหน้าต่างเขียนลายทองรดน้ำ กรอบประตูหน้าต่างประดับปูนปั้นยกดอกพุดตาน พื้นประดับกระจกส่วนด้านในของบานประตูหน้าต่างเขียนรูปกอบัว ดอกบัว นก และสัตว์น้ำ

Read more »

วัดเสาธงหิน ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี

วัดเสาธงหิน ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ที่ 1 ตำบลเสาธงหิน เดิมชื่อวัดสัก ในสมัยอยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงรวบรวมไพร่พลมาตั้งทัพบริเวณวัด และได้ปักธงไว้กับกองหิน เพื่อให้ทหารมองเห็นได้แต่ไกล และโปรดให้สร้างพระพุทธรูปเนื้อชินเงิน 3 องค์ คือ ประธาน 1 องค์ พระสาวก 2 องค์ ต่อมาเมื่อสิ้นสุดสงครามได้กลับมาบูรณะวัดอีกครั้งหนึ่ง และเปลี่ยนชื่อเป็น วัดเสาธงหิน มาจนตราบทุกวันนี้ สิ่งสำคัญภายในวัดได้แก่
หลวงพ่อโต พระประธานอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านเคารพนับถือมาก ชาวบ้านเล่าว่าครั้งหนึ่งน้ำเค็มขึ้นถึงจังหวัดนนทบุรี แต่หน้าวัดเสาธงหินเป็นน้ำจืด ชาวบ้านโจษขานกันไปทั่วและพากันตักไปดื่มกินโดยทั่วไปในขณะนั้น นอกจากความศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าว หลวงพ่อโตยังได้รับความเคารพบูชาจากชาวบ้านมาบนบานอยู่เสมอและมักจะประสบความสำเร็จ จึงพากันสักการะเป็นประจำ

ขอขอบคุณ http://www.annaontour.com/

วัดเสาธงหิน

วัดเสาหิน_1396257297

ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ที่ 1 ตำบลเสาธงหิน เดิมชื่อวัดสัก ในสมัยอยุธยาตอนปลาย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงรวบรวมไพร่พลมาตั้งทัพบริเวณวัดและปักธงไงว้กับกองหินเพื่อให้ทหารมองเห็นได้แต่ไกล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปเนื้อชินเงิน 3 องค์ ต่อมาเมื่อสิ้นสุดสงครามได้ทรงกลับมาบูรณะวัดนี่อีกครั้งและเปลี่ยนชื่อเป็นวัดเสาธงหิน

ขอขอบคุณ http://thai.tourismthailand.org/

วัดเสาธงหิน ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี

14012014190659-65

วัดเสาธงหิน เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี แต่เดิมเรียกว่า”วัดสัก” อาจเนื่องมาจากสถานที่ตั้งของวัดเดิมมีต้นสักและต้นยางอยู่มากในสมัยก่อน หลักฐานรายละเอียดของ “วัดสัก” ยังหาไม่พบ เพียงแต่สันนิษฐานและคาดคะเนจากวัสดุก่อสร้างที่ยังพอมีเหลืออยู่ในขณะนี้และคำบอกเล่าจากผู้สูงอายุ เช่น พระประธานในพระอุโบสถหลังเก่าที่หล่อด้วยเนื้อชินเงินหมดทั้งองค์ พร้อมด้วยพระโมคคัลลานะ และพระสารีบุตรก็หล่อแบบอย่างสมัยกรุงศรีอยุธยาส่วนอุโบสถหลังเก่าก็เป็นครื่องยืนยันอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวัดเก่าแก่จริง ๆ วัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่นอิฐก่อผนัง และชุกชี (ฐานพระประธาน) ก็ทำมาจากอิฐก้อนใหญ่ ๆ เหมือนกันกับอิฐที่ใช้สร้างวัดวาอารามในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนผสมปูนที่ก่อสร้างหรือปูนที่ใช้ฉาบนั้นก็คงใช้ส่วนผสมต่าง ๆ ตามแบบช่างในสมัยกรุงศรีอยุธยา เครื่องประดับตกแต่งอุโบสถก็ใช้เครื่องใช้ถ้วยชามสมัยเก่าเป็นเครื่องประดับทั้งหน้าบรรณด้านหน้าและด้านหลัง

“วัดสัก”หรือ”วัดเสาธงหิน”ในปัจจุบัน ตามคำบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่ที่สูงอายุ สืบต่อกันมาจนกระทั่งถึง คุณยายยวง พินรอด อายุ ๘๐ ปีเศษ ตั้งบ้านเรือนอยู่ข้างวัดฯ ได้มาทำบุญเป็นประจำ และผู้ใหญ่นวล บุญมี อายุ ๘๐ ปีเศษ ชาวบ้านคลองศรีราษฏร์ อีกคนหนึ่งได้เล่าประวัติของวัดเสาธงหินว่า

Read more »

วัดเสาธงหิน จ.นนทบุรี

1-45
ครั้งแรกที่ไปวัดเสาธงหิน ถึงที่นั่น เวลาประมาณ 18.00 น. วิหารหลวงพ่อโตปิดแล้ว พระอุโบสถก็ปิด ในวัดเงียบสนิท เดินไปเดินมาเจอพระพุทธรูปจำลองหลวงพ่อโตด้านหน้าวิหารก็จุดธูปเทียนไหว้พระ บังเอิญไปเจอผู้ชายคนหนึ่งขับรถมาจอดในวัด จึงเดินเข้าไปพูดคุย คุยไปคุยมา เขาบอกว่าหลวงพ่อโตในวิหารศักดิ์สิทธิ์มาก..ได้ฟังดังนั้นแล้ว อยากเห็นและกราบองค์จริงๆ.. ข้าพเจ้าจึงเดินเงียบๆมาข้างพระวิหารหลวงพ่อโต
และอธิฐานในใจ หากหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์จริง ขอได้โปรดดลจิตดลใจให้ผู้ดูแลวิหารมาเปิดประตูให้ได้สัการะด้วยนะคะ ผลปรากฏว่าได้กราบองค์ท่านจริงๆสมใจคะ เพราะมีคนโทรตามหลวงพ่อที่ดูแลลงกลอนวิหารมาเปิดให้คะ
ประวัติความเป็นมาของวัดเสาธงหิน
วัดเสาธงหินตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1 ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ เดิมชื่อ “วัดสัก” เพราะทั่วบริเวณมีต้นสักและต้นยางมาก ซึ่งตาม ประวัติของวัดได้บันทึกไว้ว่า ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ปี พ.ศ.2310 เสียกรุงครั้งสุดท้าย สมเด็จพระเจ้าตากสิน ได้มาตั้งทัพเพื่อ เตรียมผู้คนที่วัดสักแห่งนี้สำหรับไปกู้บ้านเมืองที่อยุธยา เนื่องจากเห็นว่าเป็นทำเลที่เหมาะสม จึงได้นำธงประจำกองทัพ ปักไว้ แล้วเอาหินทับกับ เสาธงไม่ให้ล้ม ให้ทหารมองเห็นธงที่จะยกไป ต่อมาพระองค์ได้โปรดฯ ให้สร้างพระพุทธรูปเนื้อชินเงิน 3 องค์ คือ พระประธาน 10องค์ พระสาวก 2 องค์ เมื่อเสร็จจากศึกสงครามแล้ว พระองค์พร้อมด้วยผู้รอดชีวิต จากสงครามได้กลับมาช่วยกัน บูรณะวัดสัก และเปลี่ยนชื่อวัดสักเป็น “วัดเสาธงหิน”

Read more »

วัดเสาธงหินชมโบสถ์หลังคา 5 ชั้น และพระปางเก่าเลไลย์ในวิหารเก่าแก่

5165641285_09d11191d6

ยักษ์ใหญ่นายทวาร ยืนตระหง่านอยู่เต็มตา หน้าประตูวัด คงไม่ใช่สว อิเฎลเพียงคนเดียวที่เห็นแล้วอยากเข้าไปดูด้านในวัด แน่นอน สว อิเฎล เข้าไป และสิ่งที่ทำให้อิเฎลตื่นตาตื่นใจเอามาก ๆ คือโบสถ์ของวัดนี้ โบสถ์ใหม่ของวัดเสาธงหิน มีหลังคาซ้อนกันถึง 5 ชั้น และประกอบด้วยศิลปะที่วิจิตรงดงามตระการตาหาที่เปรียบเทียบได้ยาก สว อิเฎลอยากบอกว่า ถ้าให้อิเฎลเปรียบเทียบด้วยสายตาตัวเอง นี่แหละโบสถ์ที่งดงามที่สุดเท่าที่อิเฎลเคยเห็นมา ที่ซุ้มหน้าต่างทุกบานของโบสถ์ประดับด้วยรูปปูนปั้นปิดทองเป็น 3 ศีรษะ สว อิเฎลไม่แน่ใจในความเป็นมา แต่คาดเดาว่าเป็นศิลปะแบบขอม (เขมร โบราณ) ที่นำมาออกแบบประยุกต์ใช้กับวัดไทย

นอกจากนี้ วัดเสาธงหิน ยังมีวิหารดั้งเดิมที่อายุมากว่า 200 ปีคือวิหารที่มี พระปางป่าเลไลย์ เป็นพระประธาน และพระป่าเลไลของวัดเสาธงหินนี้ เป็นพระปางป่าเลไลย์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่อิเฎลเคยพบเห็นมา รอบพระบาทของพระปางป่าเลไลย์องค์นี้จะมีดอกบัวรองรับอยู่ รอบ ๆ ดอกบัวมีการขุดเป็นร่องน้ำ ที่จริงแล้วอิเฎลเคยเห็นพระป่าเลลัยองค์เล็กกว่านี้ที่วัดอื่น ๆ ในระแวกเดียวกัน เจ้าอาวาสบอกว่าเมื่อก่อนแถวนี้เป็นป่าและสวน ทุกวัดจึงมีพระปางป่าเลไลย์ แต่วัดเสาธงหินเป็นวัดเดียวที่เลือกพระปางป่าเลไลย์มาเป็นพระประธาน ดังนั้นจะเป็นการดีหากได้มาสักการะพระพุทธรูป พระป่าเลไลย์ ที่วัดเสาธงหินแห่งนี้ อิเฎลขอบอกเลยว่าอิเฎลเชียร์ให้ท่านมาทำบุญที่นี่ด้วยใจจริง

Read more »

วัดเสาธงหิน จ.นนทบุรี

382566_530079280372630_712752397_n

วัดเสาธงหิน เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี แต่เดิมเรียกว่า”วัดสัก” อาจเนื่องมาจากสถานที่ตั้งของวัดเดิมมีต้นสักและต้นยางอยู่มากในสมัยก่อน หลักฐานรายละเอียดของ “วัดสัก” ยังหาไม่พบ เพียงแต่สันนิษฐานและคาดคะเนจากวัสดุก่อสร้างที่ยังพอมีเหลืออยู่ในขณะนี้และคำบอกเล่าจากผู้สูงอายุ เช่น พระประธานในพระอุโบสถหลังเก่าที่หล่อด้วยเนื้อชินเงินหมดทั้งองค์ พร้อมด้วยพระโมคคัลลานะ และพระสารีบุตรก็หล่อแบบอย่างสมัยกรุงศรีอยุธยาส่วนอุโบสถหลังเก่าก็เป็นครื่องยืนยันอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวัดเก่าแก่จริง ๆ วัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่นอิฐก่อผนัง และชุกชี (ฐานพระประธาน) ก็ทำมาจากอิฐก้อนใหญ่ ๆ เหมือนกันกับอิฐที่ใช้สร้างวัดวาอารามในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนผสมปูนที่ก่อสร้างหรือปูนที่ใช้ฉาบนั้นก็คงใช้ส่วนผสมต่าง ๆ ตามแบบช่างในสมัยกรุงศรีอยุธยา เครื่องประดับตกแต่งอุโบสถก็ใช้เครื่องใช้ถ้วยชามสมัยเก่าเป็นเครื่องประดับทั้งหน้าบรรณด้านหน้าและด้านหลัง

“วัดสัก”หรือ”วัดเสาธงหิน”ในปัจจุบัน ตามคำบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่ที่สูงอายุ สืบต่อกันมาจนกระทั่งถึง คุณยายยวง พินรอด อายุ ๘๐ ปีเศษ ตั้งบ้านเรือนอยู่ข้างวัดฯ ได้มาทำบุญเป็นประจำ และผู้ใหญ่นวล บุญมี อายุ ๘๐ ปีเศษ ชาวบ้านคลองศรีราษฏร์ อีกคนหนึ่งได้เล่าประวัติของวัดเสาธงหินว่า

Read more »

วัดเสาหินธง จ.นนทบุรี

วัดเสาธงหิน ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ที่ 1 ตำบลเสาธงหิน เดิมชื่อวัดสัก ในสมัยอยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงรวบรวมไพร่พลมาตั้งทัพบริเวณวัด และได้ปักธงไว้กับกองหิน เพื่อให้ทหารมองเห็นได้แต่ไกล และโปรดให้สร้างพระพุทธรูปเนื้อชินเงิน 3 องค์ คือ ประธาน 1 องค์ พระสาวก 2 องค์ ต่อมาเมื่อสิ้นสุดสงครามได้กลับมาบูรณะวัดอีกครั้งหนึ่ง และเปลี่ยนชื่อเป็น วัดเสาธงหิน มาจนตราบทุกวันนี้ สิ่งสำคัญภายในวัดได้แก่

หลวงพ่อโต พระประธานอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านเคารพนับถือมาก ชาวบ้านเล่าว่าครั้งหนึ่งน้ำเค็มขึ้นถึงจังหวัดนนทบุรี แต่หน้าวัดเสาธงหินเป็นน้ำจืด ชาวบ้านโจษขานกันไปทั่วและพากันตักไปดื่มกินโดยทั่วไปในขณะนั้น นอกจากความศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าว หลวงพ่อโตยังได้รับความเคารพบูชาจากชาวบ้านมาบนบานอยู่เสมอและมักจะประสบความสำเร็จ จึงพากันสักการะเป็นประจำ

ขอขอบคุณ http://www.touronthai.com/

วัดเสาธงหิน

1024px-อุโบสถหลังใหม่

วัดเสาธงหิน เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี แต่เดิมเรียกว่า”วัดสัก” อาจเนื่องมาจากสถานที่ตั้งของวัดเดิมมีต้นสักและต้นยางอยู่มากในสมัยก่อน หลักฐานรายละเอียดของ “วัดสัก” ยังหาไม่พบ เพียงแต่สันนิษฐานและคาดคะเนจากวัสดุก่อสร้างที่ยังพอมีเหลืออยู่ในขณะนี้และคำบอกเล่าจากผู้สูงอายุ เช่น พระประธานในพระอุโบสถหลังเก่าที่หล่อด้วยเนื้อชินเงินหมดทั้งองค์ พร้อมด้วยพระโมคคัลลานะ และพระสารีบุตรก็หล่อแบบอย่างสมัยกรุงศรีอยุธยาส่วนอุโบสถหลังเก่าก็เป็นครื่องยืนยันอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวัดเก่าแก่จริง ๆ วัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่นอิฐก่อผนัง และชุกชี (ฐานพระประธาน) ก็ทำมาจากอิฐก้อนใหญ่ ๆ เหมือนกันกับอิฐที่ใช้สร้างวัดวาอารามในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนผสมปูนที่ก่อสร้างหรือปูนที่ใช้ฉาบนั้นก็คงใช้ส่วนผสมต่าง ๆ ตามแบบช่างในสมัยกรุงศรีอยุธยา เครื่องประดับตกแต่งอุโบสถก็ใช้เครื่องใช้ถ้วยชามสมัยเก่าเป็นเครื่องประดับทั้งหน้าบรรณด้านหน้าและด้านหลัง

“วัดสัก”หรือ”วัดเสาธงหิน”ในปัจจุบัน ตามคำบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่ที่สูงอายุ สืบต่อกันมาจนกระทั่งถึง คุณยายยวง พินรอด อายุ 80 ปีเศษ ตั้งบ้านเรือนอยู่ข้างวัดฯ ได้มาทำบุญเป็นประจำ และผู้ใหญ่นวล บุญมี อายุ 80 ปีเศษ ชาวบ้านคลองศรีราษฏร์ อีกคนหนึ่งได้เล่าประวัติของวัดเสาธงหินว่า

ในสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรงธนบุรี หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อพระองค์ได้เสด็จกรีฑาทัพเพื่อที่จะทำการกู้ชาติไทยจากพม่าข้าศึก ได้เสด็จนำทัพผ่านมาทางวัดสัก เมื่อทอดพระเนตรเห็นต้นสักจำนวนมากเป็นที่ร่มรื่นจึงรับสั่งให้หยุดทัพพักพลรบ ณ.ที่วัดสักแห่งนี้ เพื่อพักเอาแรงและรวบรวมกำลังพลจากที่ต่างๆเพื่อออกรบ ไม่ว่าจะเป็นทัพของผู้ใด ย่อมมีธงชัยประจำทัพ หรือธงประจำตัวของแม่ทัพคนนั้น ๆ สมเด็จพระเจ้าตากสินก็เช่นเดียวกัน ได้มีรับสั่งให้ปักธงประจำทัพของพระองค์ลงบนกองทราย ณ.ตำบลนั้น โดยให้หัวหมู่ทหารนำพลพรรคไปหาเอาหินก้อนใหญ่ๆ มากองทัพเสาธงและล้อมรอบธงไว้มิให้ธงล้ม เพื่อเป็นเอกลักษณ์ของทัพและเป็นสัญลักษณ์จุดนัดหมายของทหาร แม่ทัพนายกองและไพร่พลทั้งหลายจึงพากันเรียกขานจุดนัดหมายนี้ว่า”เสาธงหิน” จากปากต่อปากเรียกกันมาเรื่อย ๆ Read more »

. . . . . . .
. . . . . . .