Archive for the ‘ขอพรหลวงพ่อ วัดในภาคกลาง’ Category

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร วัดงามสถาปัตยกรรมเด่นริมแม่น้ำเจ้าพระยา

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร-12

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร จ. นนทบุรี เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองของชาวนนทบุรีอายุกว่า 100 ปี

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือรัชกาลที่ 3 (พ.ศ.2367-2394) โปรดเกล้าฯ สร้างขึ้นก่อนเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ.2390 ณ บริเวณนิวาสสถานเดิมของพระอัยกา (ตา) พระอัยกี (ยาย) และสมเด็จพระศรีสุลาลัยพระบรมราชชนนี เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติแด่ทั้ง 3 พระองค์ และพระราชทานนามว่า “วัดเฉลิมพระเกียรติ” แล้วโปรดเกล้าฯ ให้สร้างกำแพงแก้ว และป้อมปราการทั้งสี่มุมดูสง่างดงาม เพราะในอดีตพื้นที่นี้เคยเป็นที่ตั้งของป้อมปราการเก่าแก่มาก่อน การก่อสร้างวัดเฉลิมพระเกียรติฯในสมัยรัชกาลที่ 3 ยังไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์ รัชกาลที่ 4จึงทรงรับภารกิจดำเนินการสร้างจนสำเสร็จเรียบร้อย และได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ให้งดงามเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

ถัดมาด้านใต้เป็นพระวิหารหลวงของวัดเฉลิมพระเกียรติฯ หรือที่เรียกกันว่า “วิหารพระศิลาขาว” รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระประธาน “พระศิลาขาว” มาประดิษฐานไว้ภายในเมื่อปี พ.ศ. 2401 ใกล้ๆ กันยังเป็นที่ตั้งพระวิหารหลวง ศิลปะแบบไทยปนจีนเช่นกัน ภายในประดิษฐาน “พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์”

Read more »

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร

วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร อยู่ที่ซอยเฉลิมพระเกียรติ 15 เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา รัชกาลที่ 3ทรงสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2390 เพื่อถวายพระอัยกา พระอัยกีและสมเด็จพระราชชนนี มาสร้างแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ 4 ภายในเขตพระอารามมีความสงบ สะอาด ร่มรื่น ศิลปะสถาปัตยกรรมอนุรักษ์รูปแบบเดิมไว้ แม้สิ่งก่อสร้างต่างๆ ก็มีความกลมกลืนกับสถาปัตย์เดิม

วัดนี้ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2536 จากสมาคมสถาปนิกสยาม สถาปัตยกรรมในวัดที่น่าสนใจได้แก่

พระอุโบสถ เป็นศิลปะแบบพระราชนิยมในรัชกาลที่ 3 (คือ ศิลปะที่ได้รับอิทธิพลจากจีนมาผสม) หลังคามุงด้วยกระเบื้องรางดินเผาชนิดกาบกล้วยไม่เคลือบสี ถือปูนทับแนวทำเป็นลอนลูกฟูกแบบเก๋งจีน หน้าบันประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสี สลับลวดลายใบดอกพุดตาน กระจังฐานพระ ช่อฟ้าใบระกา ประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีสลับลายจากประเทศจีน ผนังด้านในเขียนสีลายพุ่มข้าวบิณฑ์ก้านแย่ง มีช่อดอกพุดตานภายใน เพดานลายฉลุปิดทอง ซุ้ม ประตูหน้าต่างประดับลายปูนปั้นรูปใบและดอกพุดตาน พื้นประดับกระจก ผนังภายในพระอุโบสถเขียนสีลายดอกไม้ร่วง บานประตูหน้าต่างเขียนลายทองรดน้ำ กรอบประตูหน้าต่างประดับปูนปั้นยกดอกพุดตาน พื้นประดับกระจกส่วนด้านในของบานประตูหน้าต่างเขียนรูปกอบัว ดอกบัว นก และสัตว์น้ำ

Read more »

วัดเสาธงหิน ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี

วัดเสาธงหิน ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ที่ 1 ตำบลเสาธงหิน เดิมชื่อวัดสัก ในสมัยอยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงรวบรวมไพร่พลมาตั้งทัพบริเวณวัด และได้ปักธงไว้กับกองหิน เพื่อให้ทหารมองเห็นได้แต่ไกล และโปรดให้สร้างพระพุทธรูปเนื้อชินเงิน 3 องค์ คือ ประธาน 1 องค์ พระสาวก 2 องค์ ต่อมาเมื่อสิ้นสุดสงครามได้กลับมาบูรณะวัดอีกครั้งหนึ่ง และเปลี่ยนชื่อเป็น วัดเสาธงหิน มาจนตราบทุกวันนี้ สิ่งสำคัญภายในวัดได้แก่
หลวงพ่อโต พระประธานอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านเคารพนับถือมาก ชาวบ้านเล่าว่าครั้งหนึ่งน้ำเค็มขึ้นถึงจังหวัดนนทบุรี แต่หน้าวัดเสาธงหินเป็นน้ำจืด ชาวบ้านโจษขานกันไปทั่วและพากันตักไปดื่มกินโดยทั่วไปในขณะนั้น นอกจากความศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าว หลวงพ่อโตยังได้รับความเคารพบูชาจากชาวบ้านมาบนบานอยู่เสมอและมักจะประสบความสำเร็จ จึงพากันสักการะเป็นประจำ

ขอขอบคุณ http://www.annaontour.com/

วัดเสาธงหิน

วัดเสาหิน_1396257297

ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ที่ 1 ตำบลเสาธงหิน เดิมชื่อวัดสัก ในสมัยอยุธยาตอนปลาย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงรวบรวมไพร่พลมาตั้งทัพบริเวณวัดและปักธงไงว้กับกองหินเพื่อให้ทหารมองเห็นได้แต่ไกล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปเนื้อชินเงิน 3 องค์ ต่อมาเมื่อสิ้นสุดสงครามได้ทรงกลับมาบูรณะวัดนี่อีกครั้งและเปลี่ยนชื่อเป็นวัดเสาธงหิน

ขอขอบคุณ http://thai.tourismthailand.org/

วัดเสาธงหิน ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี

14012014190659-65

วัดเสาธงหิน เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี แต่เดิมเรียกว่า”วัดสัก” อาจเนื่องมาจากสถานที่ตั้งของวัดเดิมมีต้นสักและต้นยางอยู่มากในสมัยก่อน หลักฐานรายละเอียดของ “วัดสัก” ยังหาไม่พบ เพียงแต่สันนิษฐานและคาดคะเนจากวัสดุก่อสร้างที่ยังพอมีเหลืออยู่ในขณะนี้และคำบอกเล่าจากผู้สูงอายุ เช่น พระประธานในพระอุโบสถหลังเก่าที่หล่อด้วยเนื้อชินเงินหมดทั้งองค์ พร้อมด้วยพระโมคคัลลานะ และพระสารีบุตรก็หล่อแบบอย่างสมัยกรุงศรีอยุธยาส่วนอุโบสถหลังเก่าก็เป็นครื่องยืนยันอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวัดเก่าแก่จริง ๆ วัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่นอิฐก่อผนัง และชุกชี (ฐานพระประธาน) ก็ทำมาจากอิฐก้อนใหญ่ ๆ เหมือนกันกับอิฐที่ใช้สร้างวัดวาอารามในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนผสมปูนที่ก่อสร้างหรือปูนที่ใช้ฉาบนั้นก็คงใช้ส่วนผสมต่าง ๆ ตามแบบช่างในสมัยกรุงศรีอยุธยา เครื่องประดับตกแต่งอุโบสถก็ใช้เครื่องใช้ถ้วยชามสมัยเก่าเป็นเครื่องประดับทั้งหน้าบรรณด้านหน้าและด้านหลัง

“วัดสัก”หรือ”วัดเสาธงหิน”ในปัจจุบัน ตามคำบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่ที่สูงอายุ สืบต่อกันมาจนกระทั่งถึง คุณยายยวง พินรอด อายุ ๘๐ ปีเศษ ตั้งบ้านเรือนอยู่ข้างวัดฯ ได้มาทำบุญเป็นประจำ และผู้ใหญ่นวล บุญมี อายุ ๘๐ ปีเศษ ชาวบ้านคลองศรีราษฏร์ อีกคนหนึ่งได้เล่าประวัติของวัดเสาธงหินว่า

Read more »

วัดเสาธงหิน จ.นนทบุรี

1-45
ครั้งแรกที่ไปวัดเสาธงหิน ถึงที่นั่น เวลาประมาณ 18.00 น. วิหารหลวงพ่อโตปิดแล้ว พระอุโบสถก็ปิด ในวัดเงียบสนิท เดินไปเดินมาเจอพระพุทธรูปจำลองหลวงพ่อโตด้านหน้าวิหารก็จุดธูปเทียนไหว้พระ บังเอิญไปเจอผู้ชายคนหนึ่งขับรถมาจอดในวัด จึงเดินเข้าไปพูดคุย คุยไปคุยมา เขาบอกว่าหลวงพ่อโตในวิหารศักดิ์สิทธิ์มาก..ได้ฟังดังนั้นแล้ว อยากเห็นและกราบองค์จริงๆ.. ข้าพเจ้าจึงเดินเงียบๆมาข้างพระวิหารหลวงพ่อโต
และอธิฐานในใจ หากหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์จริง ขอได้โปรดดลจิตดลใจให้ผู้ดูแลวิหารมาเปิดประตูให้ได้สัการะด้วยนะคะ ผลปรากฏว่าได้กราบองค์ท่านจริงๆสมใจคะ เพราะมีคนโทรตามหลวงพ่อที่ดูแลลงกลอนวิหารมาเปิดให้คะ
ประวัติความเป็นมาของวัดเสาธงหิน
วัดเสาธงหินตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1 ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ เดิมชื่อ “วัดสัก” เพราะทั่วบริเวณมีต้นสักและต้นยางมาก ซึ่งตาม ประวัติของวัดได้บันทึกไว้ว่า ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ปี พ.ศ.2310 เสียกรุงครั้งสุดท้าย สมเด็จพระเจ้าตากสิน ได้มาตั้งทัพเพื่อ เตรียมผู้คนที่วัดสักแห่งนี้สำหรับไปกู้บ้านเมืองที่อยุธยา เนื่องจากเห็นว่าเป็นทำเลที่เหมาะสม จึงได้นำธงประจำกองทัพ ปักไว้ แล้วเอาหินทับกับ เสาธงไม่ให้ล้ม ให้ทหารมองเห็นธงที่จะยกไป ต่อมาพระองค์ได้โปรดฯ ให้สร้างพระพุทธรูปเนื้อชินเงิน 3 องค์ คือ พระประธาน 10องค์ พระสาวก 2 องค์ เมื่อเสร็จจากศึกสงครามแล้ว พระองค์พร้อมด้วยผู้รอดชีวิต จากสงครามได้กลับมาช่วยกัน บูรณะวัดสัก และเปลี่ยนชื่อวัดสักเป็น “วัดเสาธงหิน”

Read more »

วัดเสาธงหินชมโบสถ์หลังคา 5 ชั้น และพระปางเก่าเลไลย์ในวิหารเก่าแก่

5165641285_09d11191d6

ยักษ์ใหญ่นายทวาร ยืนตระหง่านอยู่เต็มตา หน้าประตูวัด คงไม่ใช่สว อิเฎลเพียงคนเดียวที่เห็นแล้วอยากเข้าไปดูด้านในวัด แน่นอน สว อิเฎล เข้าไป และสิ่งที่ทำให้อิเฎลตื่นตาตื่นใจเอามาก ๆ คือโบสถ์ของวัดนี้ โบสถ์ใหม่ของวัดเสาธงหิน มีหลังคาซ้อนกันถึง 5 ชั้น และประกอบด้วยศิลปะที่วิจิตรงดงามตระการตาหาที่เปรียบเทียบได้ยาก สว อิเฎลอยากบอกว่า ถ้าให้อิเฎลเปรียบเทียบด้วยสายตาตัวเอง นี่แหละโบสถ์ที่งดงามที่สุดเท่าที่อิเฎลเคยเห็นมา ที่ซุ้มหน้าต่างทุกบานของโบสถ์ประดับด้วยรูปปูนปั้นปิดทองเป็น 3 ศีรษะ สว อิเฎลไม่แน่ใจในความเป็นมา แต่คาดเดาว่าเป็นศิลปะแบบขอม (เขมร โบราณ) ที่นำมาออกแบบประยุกต์ใช้กับวัดไทย

นอกจากนี้ วัดเสาธงหิน ยังมีวิหารดั้งเดิมที่อายุมากว่า 200 ปีคือวิหารที่มี พระปางป่าเลไลย์ เป็นพระประธาน และพระป่าเลไลของวัดเสาธงหินนี้ เป็นพระปางป่าเลไลย์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่อิเฎลเคยพบเห็นมา รอบพระบาทของพระปางป่าเลไลย์องค์นี้จะมีดอกบัวรองรับอยู่ รอบ ๆ ดอกบัวมีการขุดเป็นร่องน้ำ ที่จริงแล้วอิเฎลเคยเห็นพระป่าเลลัยองค์เล็กกว่านี้ที่วัดอื่น ๆ ในระแวกเดียวกัน เจ้าอาวาสบอกว่าเมื่อก่อนแถวนี้เป็นป่าและสวน ทุกวัดจึงมีพระปางป่าเลไลย์ แต่วัดเสาธงหินเป็นวัดเดียวที่เลือกพระปางป่าเลไลย์มาเป็นพระประธาน ดังนั้นจะเป็นการดีหากได้มาสักการะพระพุทธรูป พระป่าเลไลย์ ที่วัดเสาธงหินแห่งนี้ อิเฎลขอบอกเลยว่าอิเฎลเชียร์ให้ท่านมาทำบุญที่นี่ด้วยใจจริง

Read more »

วัดเสาธงหิน จ.นนทบุรี

382566_530079280372630_712752397_n

วัดเสาธงหิน เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี แต่เดิมเรียกว่า”วัดสัก” อาจเนื่องมาจากสถานที่ตั้งของวัดเดิมมีต้นสักและต้นยางอยู่มากในสมัยก่อน หลักฐานรายละเอียดของ “วัดสัก” ยังหาไม่พบ เพียงแต่สันนิษฐานและคาดคะเนจากวัสดุก่อสร้างที่ยังพอมีเหลืออยู่ในขณะนี้และคำบอกเล่าจากผู้สูงอายุ เช่น พระประธานในพระอุโบสถหลังเก่าที่หล่อด้วยเนื้อชินเงินหมดทั้งองค์ พร้อมด้วยพระโมคคัลลานะ และพระสารีบุตรก็หล่อแบบอย่างสมัยกรุงศรีอยุธยาส่วนอุโบสถหลังเก่าก็เป็นครื่องยืนยันอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวัดเก่าแก่จริง ๆ วัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่นอิฐก่อผนัง และชุกชี (ฐานพระประธาน) ก็ทำมาจากอิฐก้อนใหญ่ ๆ เหมือนกันกับอิฐที่ใช้สร้างวัดวาอารามในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนผสมปูนที่ก่อสร้างหรือปูนที่ใช้ฉาบนั้นก็คงใช้ส่วนผสมต่าง ๆ ตามแบบช่างในสมัยกรุงศรีอยุธยา เครื่องประดับตกแต่งอุโบสถก็ใช้เครื่องใช้ถ้วยชามสมัยเก่าเป็นเครื่องประดับทั้งหน้าบรรณด้านหน้าและด้านหลัง

“วัดสัก”หรือ”วัดเสาธงหิน”ในปัจจุบัน ตามคำบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่ที่สูงอายุ สืบต่อกันมาจนกระทั่งถึง คุณยายยวง พินรอด อายุ ๘๐ ปีเศษ ตั้งบ้านเรือนอยู่ข้างวัดฯ ได้มาทำบุญเป็นประจำ และผู้ใหญ่นวล บุญมี อายุ ๘๐ ปีเศษ ชาวบ้านคลองศรีราษฏร์ อีกคนหนึ่งได้เล่าประวัติของวัดเสาธงหินว่า

Read more »

วัดเสาหินธง จ.นนทบุรี

วัดเสาธงหิน ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ที่ 1 ตำบลเสาธงหิน เดิมชื่อวัดสัก ในสมัยอยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงรวบรวมไพร่พลมาตั้งทัพบริเวณวัด และได้ปักธงไว้กับกองหิน เพื่อให้ทหารมองเห็นได้แต่ไกล และโปรดให้สร้างพระพุทธรูปเนื้อชินเงิน 3 องค์ คือ ประธาน 1 องค์ พระสาวก 2 องค์ ต่อมาเมื่อสิ้นสุดสงครามได้กลับมาบูรณะวัดอีกครั้งหนึ่ง และเปลี่ยนชื่อเป็น วัดเสาธงหิน มาจนตราบทุกวันนี้ สิ่งสำคัญภายในวัดได้แก่

หลวงพ่อโต พระประธานอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านเคารพนับถือมาก ชาวบ้านเล่าว่าครั้งหนึ่งน้ำเค็มขึ้นถึงจังหวัดนนทบุรี แต่หน้าวัดเสาธงหินเป็นน้ำจืด ชาวบ้านโจษขานกันไปทั่วและพากันตักไปดื่มกินโดยทั่วไปในขณะนั้น นอกจากความศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าว หลวงพ่อโตยังได้รับความเคารพบูชาจากชาวบ้านมาบนบานอยู่เสมอและมักจะประสบความสำเร็จ จึงพากันสักการะเป็นประจำ

ขอขอบคุณ http://www.touronthai.com/

วัดเสาธงหิน

1024px-อุโบสถหลังใหม่

วัดเสาธงหิน เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี แต่เดิมเรียกว่า”วัดสัก” อาจเนื่องมาจากสถานที่ตั้งของวัดเดิมมีต้นสักและต้นยางอยู่มากในสมัยก่อน หลักฐานรายละเอียดของ “วัดสัก” ยังหาไม่พบ เพียงแต่สันนิษฐานและคาดคะเนจากวัสดุก่อสร้างที่ยังพอมีเหลืออยู่ในขณะนี้และคำบอกเล่าจากผู้สูงอายุ เช่น พระประธานในพระอุโบสถหลังเก่าที่หล่อด้วยเนื้อชินเงินหมดทั้งองค์ พร้อมด้วยพระโมคคัลลานะ และพระสารีบุตรก็หล่อแบบอย่างสมัยกรุงศรีอยุธยาส่วนอุโบสถหลังเก่าก็เป็นครื่องยืนยันอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นวัดเก่าแก่จริง ๆ วัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่นอิฐก่อผนัง และชุกชี (ฐานพระประธาน) ก็ทำมาจากอิฐก้อนใหญ่ ๆ เหมือนกันกับอิฐที่ใช้สร้างวัดวาอารามในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนผสมปูนที่ก่อสร้างหรือปูนที่ใช้ฉาบนั้นก็คงใช้ส่วนผสมต่าง ๆ ตามแบบช่างในสมัยกรุงศรีอยุธยา เครื่องประดับตกแต่งอุโบสถก็ใช้เครื่องใช้ถ้วยชามสมัยเก่าเป็นเครื่องประดับทั้งหน้าบรรณด้านหน้าและด้านหลัง

“วัดสัก”หรือ”วัดเสาธงหิน”ในปัจจุบัน ตามคำบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่ที่สูงอายุ สืบต่อกันมาจนกระทั่งถึง คุณยายยวง พินรอด อายุ 80 ปีเศษ ตั้งบ้านเรือนอยู่ข้างวัดฯ ได้มาทำบุญเป็นประจำ และผู้ใหญ่นวล บุญมี อายุ 80 ปีเศษ ชาวบ้านคลองศรีราษฏร์ อีกคนหนึ่งได้เล่าประวัติของวัดเสาธงหินว่า

ในสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรงธนบุรี หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อพระองค์ได้เสด็จกรีฑาทัพเพื่อที่จะทำการกู้ชาติไทยจากพม่าข้าศึก ได้เสด็จนำทัพผ่านมาทางวัดสัก เมื่อทอดพระเนตรเห็นต้นสักจำนวนมากเป็นที่ร่มรื่นจึงรับสั่งให้หยุดทัพพักพลรบ ณ.ที่วัดสักแห่งนี้ เพื่อพักเอาแรงและรวบรวมกำลังพลจากที่ต่างๆเพื่อออกรบ ไม่ว่าจะเป็นทัพของผู้ใด ย่อมมีธงชัยประจำทัพ หรือธงประจำตัวของแม่ทัพคนนั้น ๆ สมเด็จพระเจ้าตากสินก็เช่นเดียวกัน ได้มีรับสั่งให้ปักธงประจำทัพของพระองค์ลงบนกองทราย ณ.ตำบลนั้น โดยให้หัวหมู่ทหารนำพลพรรคไปหาเอาหินก้อนใหญ่ๆ มากองทัพเสาธงและล้อมรอบธงไว้มิให้ธงล้ม เพื่อเป็นเอกลักษณ์ของทัพและเป็นสัญลักษณ์จุดนัดหมายของทหาร แม่ทัพนายกองและไพร่พลทั้งหลายจึงพากันเรียกขานจุดนัดหมายนี้ว่า”เสาธงหิน” จากปากต่อปากเรียกกันมาเรื่อย ๆ Read more »

ทริปไหว้พระ 9 วัด ในจังหวัดสมุทรปราการ

วัดที่จะไปไหว้มีดังนี้
1)วัดบางพลีใหญ่กลาง (วัดพระนอนใหญ่)
2) วัดบางพลีใหญ่ใน (วัดหลวงพ่อโต)
3) วัดน้อยสุวรรณาราม
4) วัดตำหรุ
5) วัดหงษ์ทอง
6) วัดสว่างอารมณ์
7) วัดมงคลโคธาวาส (หลวงพ่อปานคลองด่าน)
8) วัดราษฎร์บำรุง
9) วัดอโศการาม (หลวงพ่อลี)
4. เวลาและเส้นทางที่จะใช้มีดังนี้
7.30 น. ออกสต๊าทที่โรงเรียนอรรถวิทย์ ถนนสรรพาวุธ บางนา ผ่านสี่แยกบางนาไปตามถนนบางนา-ตราด ยูเทรินกลับรถที่ อ.บางพลี เลี้ยวซ้ายเข้าเส้น บางพลี-กิ่งแก้ว เลี้ยวซ้ายเข้าทาง วัดบางพลีใหญ่กลาง
8.00 น. ถึงวัดบางพลีใหญ่กลาง
8.30 น. ถึงวัดบางพลีใหญ่ใน (วัดหลวงพ่อโต) ให้เวลาสักการะ ทานอาหารเช้าตามอัธยาศัยและเดินเที่ยวซื้อของที่ตลาด โบราณ 110 ปี ประมาณ 2 ชั่วโมง
10.30 น. ออกจากวัดบางพลีใหญ่ ใช้เส้นทางออกหน้าวัดเลี้ยวขวาเข้าถนนเทพารักษ์ แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าถนนคลองขุด
11.00 น. ถึงวัดน้อยสุวรรณาราม (กราบสักการะพระและแม่นางกวักองค์ใหญ่ และถ่ายรูปรถ)
11.30 น. ถึงวัดตำหรุ
11.45 น. ออกจากวัดตำหรุ เลี้ยวซ้ายเข้าเส้นสุขุมวิทสายเก่า มุ่งหน้าไปทางคลองด่าน ผ่านคลองด่าน ผ่านแยกบางบ่อ เลี้ยวขวาเข้าวัดหงษ์ทอง
12.00 น. ถึงวัดหงษ์ทอง (ก่อนเข้าวัดจอดถ่ายรูปรถบริเวณคันดินรอบบ่อเลี้ยงกุ ้ง) สักการะพระบรมสารีริกธาตุ , พระแก้วมรกต , ร.5 , กรมหลวงชุมพร , แม่พระคงคา, พระสีวรี , เจ้าแม่กวนอิม ฯลฯ และรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
Read more »

ไหว้พระ 9 วัด จังหวัดสมุทรปราการ

1. วัดไพชยนต์พลเสพย์ราชวรวิหาร

1210478436

ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์เจ้านายและขุนนางนิยมสร้างวัดกันมาก หลายวัดได้กลายเป็นพระอารามหลวงในเวลาต่อมา วันนี้ก็สร้างขึ้นในยุคนี้เช่นกัน พระอุโบสถและวิหารได้รับอิทธิพลศิลปะจีนซึ่งเป็นศิลปะแบบพระราชนิยมในช่วงปลายรัชกาลที่ 3 คือ ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ประดับตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้นและเครือ่งถ้วยชามลายครามอย่างจีน ฝีมือประณีตงดงามมาก
ตามความเห็นของผม ..คือที่วัดนี้ ที่อุโบสถและวิหาร ไม่มี ขี้นกพิราบ สะอาดน่านั่งพักสงบจิตใจร่มเย็นดีเหลือเกินเลยครับ..

ประวัติของวัดนี้มีเรื่องราวปรากฏอยู่ในพระ ราชพงศาวดารัชกาลที่ ๒
สมเด็จกรมพระยา ดำรงทรงพระนิพนธ์กล่าวถึงวัดนี้ว่า

“ในคราวเมื่อสร้างป้อมเมืองสมุทรปราการนั้น ทรงพระ ราชดำริว่าป้อมที่ได้สร้างขึ้นที่เมืองนคร เขื่อนขันธ์แต่ก่อน ยังคงค้างอยู่ไม่สำเร็จบริบูรณ์
จึงโปรดให้พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นศักดิ พลเสพเป็นแม่กองทำการสร้างเมืองนครเขื่อน ขันธ์ที่ยังค้างอยู่
นอกจากนี้ยังได้สร้างป้อมขึ้นอีกป้อม หนึ่ง ชื่อ ป้อมเพชรหึง
และให้ขุดคลองลัดหลังเมือง นครเขื่อนขันธ์คลองหนึ่ง มาทะลุออกคลองตาลาว คลองลัดที่ขุดใหม่นี้เมื่อขุดนั้น กว้าง ๖ วา ลึก ๕ ศอกยาว ๕๐ เส้น
กรมหมื่นศักดิพล เสพ ทรงสร้างวัดขึ้นในคลองที่ขุดใหม่วัด หนึ่ง
พระราชทานนามว่า “วัดไพชยนต์พลเสพ ”
พระยาเพชรพิไชย (เกษ) ซึ่งเป็น นายงานสร้างเมืองนครเขื่อนขันธ์ สร้างวัดขึ้นอีก วัดหนึ่งตรงข้ามวัดไพชยนต์ฯ ชื่อ วัดโปรดเกศ เชษฐาราม
ยังเป็นอารามหลวงอยู่จนทุกวันนี้ ทั้ง ๒ วัด
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานเกี่ยว กับการตั้งชื่อวัดนี้ว่า ในรัชกาลที่ ๒ เห็นจะเรียกว่า “วัดกรมศักดิ์” หรือ “วัดปากลัด”

Read more »

วัยชัยมงคล จ.สมุทรปราการ

วัดชัยมงคล ตั้งอยู่เลขที่ 324 ถนนเทศบาล 18 หมู่ที่ 2 ตำบลปากน้ำ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 24ไร่ 1 งาน 2 ตารางวา
วัดชัยมงคล ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 1893 ไม่ปรากฏนามผู้สร้างและผู้บริจาคที่ดินให้สร้างวัด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2513
วัดชัยมงคล จัดเป็นวัดแห่งแรกในชุมชนคลองปากน้ำ เดิมชาวเมืองเรียก “วัดมอญ” วัดนี้เป็นวัดเก่าแก่มีอายุประมาณ 800 ปี สร้างในปี พ.ศ. 1893 สังเกตการณ์เป็นวัดมอญได้ที่โบสถ์ ซึ่งไม่ได้หันหน้าไปทางทิศตะวันออกอย่างวัดไทยทั่วไป แต่จะหันโบสถ์ไปทางทิศเหนือ อันเป็นที่ตั้งของเมืองหงสาวดี ซึ่งเป็นเมืองหลวงของชนชาวมอญในอดีต วัดแห่งนี้ในบางสมัยเคยกลายเป็นวัดร้างเป็นเวลานาน จึงขาดการบันทึกประวัติความเป็นมาที่ต่อเนื่อง วัดมอญยังมีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ดังนี้
– ฐานบัญชาการญี่ปุ่น ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 หลังจากที่กองทหารญี่ปุ่นขึ้นที่ บางปู วัดชัยมงคล ถูกจัดให้เป็นสถานที่ตั้งกองบัญชาการของกองทัพญี่ปุ่น มีการสร้าศาลานาวิกโยธินไว้เป็นที่ระลึก ต่อมาได้ถูกย้ายไปสร้างเป็นศาลาพักร้อนมุงสักะสี
– ลานประหารชีวิต สมัยที่ยังคงมีการลงโทษประหารชีวิตด้วยการตัดศีรษะ เพื่อสะดวกในการปลงศพ และการลงโทษให้ห่างไกลชุมชนออกไปไม่ให้เป็นภาพอุดจาด จึงมักจะทำพิธีกันตามวันที่อยู่นอกตลาดข้ามไปอีกฝั่งของคลองปากน้ำลานบริเวณวัดชัยมงคล (ในช่วงที่ยังเป็นวัดร้าง) ได้เคยเป็นสถานที่ทำพิธีประหารชีวิตนักโทษ
วัดมอญ ได้รับการพัฒนาเป็นอย่างมากในสมัยที่พระมงคลสุนทร (ผล) เป็นเจ้าอาวาส ท่านเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางสมถะวิปัสสนา มีวัตถุมงคลที่มีเมตตามหานิยมสูง คือ พระกริ่งชัยมงคล และเหรียญพระชัยมงคล ในปี พ.ศ. 2477 มีการเปลี่ยนชื่อวัดเสียใหม่จาก “วัดมอญ” เป็น “วัดชัยมงคล” ที่เรียกกันในปัจจุบัน
Read more »

Wat Chai Mongkon วัดชัยมงคล วัดพัฒนาตัวอย่างที่น่าสนใจในสมุทรปราการ

03-chaim-1

วัดชัยมงคล ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 1893 ไม่ปรากฏนามผู้สร้างและผู้บริจาคที่ดินให้สร้างวัด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2513

วัดชัยมงคล จัดเป็นวัดแห่งแรกในชุมชนคลองปากน้ำ เดิมชาวเมืองเรียก “วัดมอญ” วัดนี้เป็นวัดเก่าแก่มีอายุประมาณ 800 ปี สร้างในปี พ.ศ. 1893 สังเกตการณ์เป็นวัดมอญได้ที่โบสถ์ ซึ่งไม่ได้หันหน้าไปทางทิศตะวันออกอย่างวัดไทยทั่วไป แต่จะหันโบสถ์ไปทางทิศเหนือ อันเป็นที่ตั้งของเมืองหงสาวดี ซึ่งเป็นเมืองหลวงของชนชาวมอญในอดีต วัดแห่งนี้ในบางสมัยเคยกลายเป็นวัดร้างเป็นเวลานาน จึงขาดการบันทึกประวัติความเป็นมาที่ต่อเนื่อง วัดมอญยังมีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ดังนี้

– ฐานบัญชาการญี่ปุ่น ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 หลังจากที่กองทหารญี่ปุ่นขึ้นที่บางปู วัดชัยมงคล ถูกจัดให้เป็นสถานที่ตั้งกองบัญชาการของกองทัพญี่ปุ่น มีการสร้าศาลานาวิกโยธินไว้เป็นที่ระลึก ต่อมาได้ถูกย้ายไปสร้างเป็นศาลาพักร้อนมุงสักะสี

– ลานประหารชีวิต สมัยที่ยังคงมีการลงโทษประหารชีวิตด้วยการตัดศีรษะ เพื่อสะดวกในการปลงศพ และการลงโทษให้ห่างไกลชุมชนออกไปไม่ให้เป็นภาพอุดจาด จึงมักจะทำพิธีกันตามวันที่อยู่นอกตลาดข้ามไปอีกฝั่งของคลองปากน้ำลานบริเวณวัดชัยมงคล (ในช่วงที่ยังเป็นวัดร้าง) ได้เคยเป็นสถานที่ทำพิธีประหารชีวิตนักโทษ

Read more »

ประวัติความเป็นมาของวัดชัยมงคล

วัดชัยมงคลเดิมเขียนว่า“วัดไชยมงคล“ ปรากฏตามหนังสือที่อ้างถึงของวัดนี้ เช่นโฉนดที่ดิน เป็นต้นปัจจุบันเขียนว่า “ชัยมงคล“ ทั้งในส่วนราชการและทั่วๆไปที่ได้นามเช่นนั้น ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเหตุการณ์เล่าว่าในระยะเริ่มแรกของการก่อสร้าง มีอุปสรรคหลายประการ เช่น มีผู้ยับยั้งไม่ให้สร้าง เพราะตั้งอยู่ใกล้กับวัดบางมูลนาก ซึ่งเป็นวัดเก่าคู่บ้านคู่เมือง หากมีการอนุญาตให้สร้างขึ้นใหม่อีกวัดหนึ่งแล้ว จะเป็นเหตุให้วัดเก่าร่วงโรยทรุดโทรม ไม่ได้รับการบำรุงเท่าที่ควร เพราะวัดใหม่ตั้งอยู่ใกล้ชุมชนกว่า เป็นต้น แต่คณะผู้ริเริ่มเห็นว่าเมื่อมีผู้ให้ที่ดินและสร้างเสนาสนะไปบ้างแล้ว ก็ควรจะสร้างต่อไปจนกว่าจะสำเร็จ ตามความมุ่งหมายเดิม จึงส่งคนไปติดต่อกรมการศาสนา เพื่อชี้แจงเหตุผล และขออนุญาตสร้างวัด ในช่วงนั้นท่านเจ้าคุณพระมงคลเทพมุนี ( นวม พุทธสร ) วัดอนงคาราม กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเจ้าคณะมณฑลพิษณุโลก ได้มาที่วัดบางมูลนากด้วยกิจพระศาสนาบางประการ ( บางท่านว่ามาตั้งเจ้าคณะอำเภอบางมูลนาก ) คณะผู้ริเริ่มจึงถือโอกาสอาราธนาท่าน มาที่วัดสร้างใหม่ แล้วพร้อมกันถวายที่ดิน และสิ่งปลูกสร้างใหม่ทั้งหมด สุดแล้วแต่อัธยาศัยของท่านจะจัดการอย่างใด เพราะได้ถวายให้เป็นของท่านแล้ว เมื่อเห็นความปรารถนาดีของผู้ถวาย ท่านก็รับและยกให้เป็นศาสนสมบัติโดยให้สร้างเป็นวัดต่อไป เนื่องจากท่านมีความเห็นว่า วัดที่จะสร้างขึ้นจะไม่กระทบกระเทือนต่อวัดเก่ามากนัก เพราะอยู่ห่างกันพอสมควร ไม่ใกล้ชิดกันดังที่ได้รับรายงาน ทั้งตั้งอยู่คนละฝั่งแม่น้ำด้วย พร้อมกับให้นามวัดใหม่นี้ว่า “วัดชัยมงคล“ ซึ่งคล้ายกับราชทินนามของท่าน และเพราะชนะอุปสรรคจนสร้างเป็นวัดได้ เมื่อท่านเจ้าคณะมณฑลรับที่ดินสิ่งปลูกสร้างและ อุทิศให้เป็นวัดดังนี้แล้ว อุปสรรคในการขออนุญาตสร้างก็เป็นอันหมดไป
ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ
วัดชัยมงคลเป็นวัดที่สร้างขึ้นมาใหม่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๗ จึงไม่มีปูชนียวัตถุ และโบราณวัตถุอันสำคัญทางประวัติศาสตร์

Read more »

. . . . . . .
. . . . . . .