Archive for the ‘วัดในฉะเชิงเทรา’ Category

เที่ยววัดเมือง (วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์)

วัดเมือง (วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์)อยู่ตำบลหน้าเมือง เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 ในปี พ.ศ. 2377 พร้อมๆ กับการสร้างป้อมและกำแพงเมือง โดยช่างฝีมือจากเมืองหลวง มีรูปแบบสถาปัตยกรรมใกล้เคียงกับพระปรางค์วัดพระศรีรัตนศาสดารามที่กรุงเทพ มหานคร ต่างกันเพียงรายละเอียดปลีกย่อยเท่านั้น วัดนี้เดิมเรียกว่า “วัดเมือง” ต่อมาในปี พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสจังหวัดฉะเชิงเทราและได้พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์” แปลว่าวัดที่ลุงของพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง

ขอขอบคุณ http://www.hotsia.com/

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษดิ์(วัดเมือง)

อยู่ตำบลหน้าเมือง เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 ในปี พ.ศ. 2377 พร้อมๆ กับการสร้างป้อมและกำแพงเมือง โดยช่างฝีมือจากเมืองหลวง มีรูปแบบสถาปัตยกรรมใกล้เคียงกับพระปรางค์วัดพระศรีรัตนศาสดารามที่กรุงเทพมหานคร ต่างกันเพียงรายละเอียดปลีกย่อยเท่านั้น วัดนี้เดิมเรียกว่า “วัดเมือง” ต่อมาในปี พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสจังหวัดฉะเชิงเทราและได้พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์” แปลว่าวัดที่ลุงของพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง

ขอขอบคุณ http://thai.tourismthailand.org/

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์(วัดเมือง)

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์หรือวัดเมือง เป็นโบราณสถานที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง ที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่อเกิดการสร้างบ้านแปลงเมืองของจังหวัดฉะเชิงเทราในปีพ.ศ. 2377 ครั้งนั้นได้มีการสร้างกำแพงเมืองเพื่อกำหนดขอบเขตของแปดริ้วและให้เมืองนี้เป็นปราการรักษาพระนคร กระทั่งชาวบ้านชาวเมืองปลอดภัยจากข้า ศึกศัตรู ศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้ทำให้มีการสร้างวัดขึ้นโดยช่างฝีมือจากเมืองหลวง มีรูปแบบสถาปัตยกรรมใกล้เคียงกับพระปรางค์วัดพระศรีรัตนศาสดารามที่กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองและเป็นที่พึ่งทางใจในยามสงคราม เนื่องจากวัดนี้ ตั้งอยู่ในเมือง ชาวบ้านจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า ” วัดเมือง” ต่อมาภายหลังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสฉะเชิงเทรา ในปี พ.ศ. 2451 พระองค์ทรงพระราชทานนามวัดว่า “วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์” ซึ่งมีความหมายว่า วัดที่ลุงของพระเจ้าแผ่นดินสร้าง

ภายในวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์มีสถานที่สำคัญคือ
หอระฆัง เริ่มก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2478 โดยนางปุย กับ นางสาวแฝง ที่ได้รับการบริจาค และเพื่ออุทิศให้พระอินทราสา ซึ่งเป็นอดีตเจ้าเมืองฉะเชิงเทรา
ศาลกรมหลวงรักษ์รณเรศ เป็นศาลเจ้าเล็กที่มีศิลปะแบบจีน ที่ก่อสร้างเสร็จเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2534
พระอุโบสถหลังเก่า มีขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 24 เมตร สูง 8 เมตร ในพระอุโบสถ พระอุโบสถได้หันหน้าไปทางทิศตะวันออกที่ติดกับแม่น้ำบางปะกง
พระวิหาร มีขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 26 เมตร ฐานอยู่สูงกว่าระดับฐานพระอุโบสถประมาณ 0.90 เมตรอยู่ด้านทิศตะวันตกของพระอุโบสถ พระวิหารมีมุขเด็จด้านหน้าและด้านหลัง หลังคาลด 2 ชั้น ภายในวิหารมีพระประทานและพระพุทธรูปขนาดหน้าตักกว้าง 3 ศอกเศษ จำนวน 4 องค์ และมีรอยพระพุทธบาทจำลองหล่อด้วยสำริด มีภาพมงคล 108 หล่อในสมัย รัชกาลที่ 3

ขอขอบคุณ http://www.zeekway.com/

วัดเมือง วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฏิ์

pc296

อยู่ตำบลหน้าเมือง เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยรัชการที่ ๓ ในปี พ.ศ. ๒๓๗๗ พร้อมกับการสร้างป้อมและกำแพงเมือง ในปี พ.ศ. ๒๓๗๗ โดยช่างฝีมือจากเมืองหลวง มีรูปแบบสถาปัตยกรรมใกล้เคียงกับพระปรางค์วัดพระศรีรัตนศาสดารามที่กรุงเทพฯ ต่างกันเพียงรายละเอียดปลีกย่อยเท่านั้น วัดนี้เดิมเรียกว่า วัดเมือง ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสจังหวัดฉะเชิงเทราและพระราชทานนามให้ใหม่ว่า “วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฏิ์” แปลว่า วัดที่ลุงของพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง

Wat Pitulathirat Rangsarit

This monastery is in Na Mueang Sub-district, built in King Rama 3s’ reign in 1834 with the construction of fortress and city wall in 1834 by the engineers and skill labours from the capital. It has architectural style very closely to that of stupas corncorb – This monastery is previously called “Wat Mueang” . Later in 1908 when King Chulachonklao visited Chachoengsao Province and gave and gave the new name that “Wat Pitulathirat Rangsarit” that means that monastry was built by the king’s uncle.
โทร./Tel. 0-3851-5142

ขอขอบคุณ http://www.province.chachoengsao.go.th/

ประวัติวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฏิ์ (วัดเมือง)จังหวัดฉะเชิงเทรา

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์… หรือ วัดเมืองตั้งอยู่เลขที่ 156 บนถนนมรุพงษ์ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นวัดเก่าแก่ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ สร้างโดย “พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ ” ในสมัยรัชกาลที่ 3 วัดเมืองนี้สร้างขึ้นพร้อม ๆ กับการสร้างกำแพงเมืองฉะเชิงเทรา วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์หรือวัดเมืองถือได้ว่าเป็นโบราณสถานที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง ที่สร้างขึ้นเมื่อเกิดการสร้างบ้านแปลงเมืองของฉะเชิงเทรา ใน พ.ศ. 2377 เมื่อมีการสร้างกำแพงเมืองเพื่อกำหนดขอบเขตของแปดริ้ว และให้เมืองแปดริ้วเป็นปราการรักษาพระนคร พร้อมทั้งเป็นการช่วยเหลือชาวบ้านชาวเมืองให้ปลอดภัยจากข้าศึกศัตรูในสมัยนั้น นอกจากนี้ในสมัยก่อนชาวบ้านต่างมีศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้ทำให้มีการสร้างวัดขึ้นมาด้วย เพื่อเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองและเป็นที่พึ่งทางใจในยามสงคราม เนื่องจากวัดนี้ ตั้งอยู่ในเมือง ชาวบ้านจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า “วัดเมือง”

วัดนี้สร้างโดยฝีมือช่างปั้นจากเมืองหลวง วัดพระศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพมหานคร ต่อมาในปี พ.ศ. 2451 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงเสด็จประพาสเมืองฉะเชิงเทรา และทำการบูรณะวัดขึ้นใหม่ พระองค์ได้สถาปนาชื่อใหม่ว่า “วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์” ซึ่งมีความหมายกับชื่อว่า “วัดที่ลุงของพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง” และได้ชื่อมาจนถึงปัจจุบันนี้

Read more »

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ (วัดเมือง) พระอารามหลวง

ที่ตั้ง เลขที่ 156 ถนนมรุพงษ์ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา

img_7043

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ (วัดเมือง) สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2377 โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงรักษ์รณเรศ พระราชโอรสองค์ที่ 33 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) และเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2385 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2395

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดตามฐานันดรศักดิ์ของเสด็จนายกรมฯ ซึ่งเป็นอาของพระเจ้าแผ่นดินว่า “วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์” แปลว่า “วัดที่อาของพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง” แต่เดิทเรียกกันว่า “วัดเมือง” หรือ “วัดหน้าเมือง” เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2551 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ยกวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 25 ตอนพิเศษ 140 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2551

โบราณสถาน โบราณวัตถุ

1. พระอุโบสถ ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 24 เมตร สูง 8 เมตร (ขนาดกลาง) มีมุขเด็จด้านหน้าและหลัง หน้าบันมุขเด็จเป็นลวดลายปูนปั้น มีอักษรพระปรมาภิไธยย่อ “จปร” (ของรัชกาลที่ 3 และ รัชกาลที่ 5 ใช้ จปร เหมือนกัน) ภายในอุโบสถมีพระประธาน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ทำด้วยปูนลงรักปิดทอง หน้าตักกว้า 1 วา ฝีมือช่างเมืองหลวง

2. พระวิหารขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 26 เมตร อยู่ทางทิสตะวันตกของอุโบสถ ภายในพระวิหารมีพระประธานและพระพุทธรูปหน้าตักกว้าง 3 ศอก จำนวน 4 องค์ (สมัยสุโขทัยเนื้อทองสำริด) และมีรอยพระพุทธบาทจำลองหล่อด้วยสำริด มีภาพมงคล 108 หล่อในสมัยรัชกาลที่ 3 ระหว่างอุโบสถกับพระวิหาร มีต้นจันทร์อายุมากกว่า174 ปี (นับถึงปี 2556)

3. พระปรางค์ มุมกำแพงรอบพระวิหาร มี 4 องค์ เป็นสถาปัตยกรรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น

4. กำแพงรอบพระอุโบสถและพระวิหาร

5. ศาลาการเปรียญสร้างเมื่อ พ.ศ.2510 เดิมเป็นอาคารไม้ชั้นเดียว พ.ศ.2547 บูรณะโดยยกสูงจากพื้นเดิม ทำเป็น 2 ชั้น มีระเบียงรอบตัวอาคาร หน้าบันมีพระปรมาภิไธยย่อ จปร ภายในมีโบราณวัตถุสำคัญ ได้แก่

ธรรมาสน์เทศน์ เป็นเครื่องสังเค็ด (ของที่ระลึก, ของชำร่วย) งานพระบรมศพรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ.2453 รัชกาลที่ 6 สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานสำหรับพระอารามหลวง เป็นธรรมาสน์ชั้นตรี เขียนลายรดน้ำ ซึ่งวัดนี้ได้รับพระราชทานเสมอด้วยพระอารามหลวงชั้นตรี

6. หอระฆัง สร้างเมื่อ พ.ศ.2478 เพื่ออุทิศให้พระอินทราสา อดีตเจ้าเมืองฉะเชิงเทรา

7. พระเจดีย์ สูง 6 – 7 เมตร รจพระอัฐิพลายวิเศษฤาชัย (ช้าง) อดีตเจ้าเมืองฉะเชิงเทรา ตั้งอยู่บริเวณรั้วของวิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา

8. ศาลากรมหลวงรักษ์รณเรศ พระราชบุตรรัชกาลที่ 1 สร้างเมื่อ 19 มกราคม 2534 อยู่ด้านนอกกำแพงวัด ทรงชุดออกศึก ประทับนั่ง ขนาดเท่าองค์จริง หันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก แม่น้ำบางปะกง พระองค์เป็นที่เคารพของชาวบ้าน และเหล่าพ่อค้าคนจีน

ขอขอบคุณ http://css.onab.go.th/

 

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์หรือวัดเมือง

viharn

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์หรือวัดเมืองเป็นโบราณสถานที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง ที่สร้างขึ้นเมื่อเกิดการสร้างบ้านแปลงเมืองของฉะเชิงเทรา
ใน พ.ศ. 2377 เมื่อมีการสร้างกำแพงเมืองเพื่อกำหนดขอบเขตของแปดริ้ว และ ให้เมืองนี้เป็นปราการรักษาพระนคร และชาวบ้านชาวเมืองให้ปลอดภัยจากข้า
ศึกศัตรูนั้น ศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้ทำให้มีการสร้างวัดขึ้นมาด้วย เพื่อเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองและเป็นที่พึ่งทางใจในยามสงคราม เนื่องจากวัดนี้ ตั้งอยู่ในเมือง ชาวบ้านจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า ” วัดเมือง ” ต่อมาภายหลังเมื่อพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสฉะเชิงเทรา ในปี พ.ศ. 2451
จึงได้พระราชทานนามวัดว่า ” วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ ” ซึ่งมีความหมายว่า
วัดที่ลุงของพระเจ้าแผ่นดินสร้าง”

วัดนี้ถือว่าเป็นวัดทื่มีความสำคัญอย่างยิ่งในยุคนั้น เพราะนอกจากจะได้รับ
พระราชทานวิสุงคามสีมากว้าง 17 เมตร ยาว 29.50 เมตรแล้ว สังเกตจาก
ศิลปะที่องค์พระปรางค์ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับพระปรางค์อัฐเคราะห์ในะ
วัดพรศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพมหานครมากจึงน่าเชื่อว่าคงจะได้ช่างฝีมือจากเมืองหลวง

ขอขอบคุณ http://www.thai-tour.com/

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์

วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ หรือ วัดเมืองตั้งอยู่เลขที่ 156 บนถนนมรุพงษ์ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นวัดเก่าแก่เริ่มมีในสมัยรัชกาลที่ 3 ในปี พ.ศ.2377ภายในวัดมีสถานที่สำคัญคือ หอระฆัง เริ่มก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2478 โดยนางปุย กับ นางสาวแฝง ที่ได้รับการบริจาค และเพื่ออุทิศให้พระอินทราสา ซึ่งเป็นอดีตเจ้าเมืองฉะเชิงเทรา และ ศาลกรมหลวงรักษ์รณเรศ เป็นศาลเจ้าเล็กที่มีศิลปะแบบจีน ที่ก่อสร้างเสร็จเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2534 ในวัดมีพระอุโบสถหลังเก่า มี้ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 24 เมตร สูง 8 เมตร ในพระอุโบสถ พระอุโบสถได้หันหน้าไปทางทิศตะวันออกที่ติดกับแม่น้ำบางปะกง ส่วนพระวิหาร มีขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 26 เมตร ฐานอยู่สูงกว่าระดับฐานพระอุโบสถประมาณ 0.90 เมตรอยู่ด้านทิศตะวันตกของพระอุโบสถ พระวิหารมีมุขเด็จด้านหน้าและด้านหลัง หลังคาลด 2 ชั้น ภายในวิหารมีพระประทานและพระพุทธรูปขนาดหน้าตักกว้าง 3 ศอกเศษ จำนวน 4 องค์ และมีรอยพระพุทธบาทจำลองหล่อด้วยสำริด มีภาพมงคล 108 หล่อในสมัย รัชกาลที่ 3

ประวัติ
สร้างโดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดวงจักร กรมหมื่นณรงค์หริรักษ์ ในสมัยรัชกาลที่ 3 และพร้อมๆ กับการสร้างกำแพงเมืองฉะเชิงเทรา โดยฝีมือช่างปั้นจากเมืองหลวง วัดพระศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพมหานคร วัดเดิมนี้ใช้เรียกว่าวัดเมือง แล้วในปี พ.ศ. 2451 ในสมัย รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จพระพาสเมืองฉะเชิงเทรา และทำการบูรณะวัดขึ้น ใหม่พระองค์ได้สถาปนาชื่อใหม่ว่า “วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์” ซึ่งมีความหมายกับชื่อว่า วัดที่ลุงของพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง และได้ชื่อมาจนถึงปัจจุบันนี้

ขอขอบคุณ http://th.wikipedia.org/

วัดจีนประชาสโมสร (วัดเล่งฮกยี่)

วัดจีนประชาสโมสร (วัดเล่งฮกยี่) ตั้งอยู่ที่ถนนศุภกิจ ตำบลบ้านใหม่ ห่างจากศาลากลางจังหวัด 1 กิโลเมตร เป็นวัดจีนในพุทธศาสนาฝ่ายมหายานที่ขยายมาจากวัดเล่งเน่ยยี่ในกรุงเทพฯ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2449 เมื่อครั้งเสด็จประพาสมณฑลปราจีนบุรี เพื่อเปิดทางรถไฟสายกรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา ได้ทรงพระราชทานนามวัดว่า &ldquoวัดจีนประชาสโมสร&rdquo ส่วนชื่อภาษาจีนของวัด คำว่า &ldquoฮก แปลว่า วาสนา โชคลาภ ความมั่งมีศรีสุข เล้ง หรือ เล่ง หมายถึง มังกร จึงมีผู้เรียกวัดนี้ ว่า มังกรวาสนา หรือ มังกรแห่งโชค&rdquo ตามหลักฮวงจุ้ยจีนกล่าวว่า วัดนี้ถือเป็นตำแหน่งท้องมังกร ส่วนตำแหน่งหัวมังกรอยู่ที่วัดเล่งเน่ยยี่ จังหวัดกรุงเทพฯ และหางมังกรนั้นอยู่ที่วัดเล่งฮัวยี่ จังหวัดจันทบุรี ทั้งสามตำแหน่งของมังกรพาดผ่านดินแดนของความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์ เยาวราชดินแดนแห่งการค้าขาย เมืองแปดริ้วดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารและจังหวัดจันทบุรี เมืองแห่งอัญมณีพลอย ภายในวัดจีนประชาสโมสรมีสิ่งที่น่าสนใจมากมาย เช่น ท้าวจัตุโลกบาลขนาดใหญ่ 4 องค์ทำจากกระดาษที่ประตูทางเข้า พระประธาน 3 องค์และองค์ 18 อรหันต์ ทำด้วยกระดาษนำมาจากเมืองจีน รูปหล่อเทพเจ้าแห่งโชคลาภ(ไฉ่เซ่งเอี้ย) ที่อยู่ด้านขวาขององค์พระประธานและยังมีเทพเจ้าอีกหลายองค์ตามคติจีน ระฆังใบใหญ่น้ำหนักกว่า 1 ตัน ซึ่งเป็น 1 ใน 3 ใบในโลกที่รอบระฆังมีอักษรมหาปรัชญาปารมิตราสูตรถือกันว่าผู้ได้ใดตีระฆังก็เหมือนกับการสวดมนต์ซึ่งได้บุญกุศล นอกจากนี้ยังมีวิหารศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ เช่น วิหารบูรพาจารย์ วิหารเจ้าแม่กวนอิม วิหารตี่จั๊งอ๊วงและสระนทีสวรรค์ เป็นต้น

ขอขอบคุณ http://www.painaidii.com/

วัดจีนประชาสโมสร

wadjean

วัดจีนประชาสโมสร (วัดเล่งฮกยี่) ตั้งอยู่ที่ถนนศุภกิจ ตำบลบ้านใหม่ ห่างจากศาลากลางจังหวัด 1 กิโลเมตร เป็นวัดจีนในพุทธศาสนาฝ่ายมหายานที่ขยายมาจากวัดเล่งเน่ยยี่ในกรุงเทพฯ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2449 เมื่อครั้งเสด็จประพาสมณฑลปราจีนบุรี เพื่อเปิดทางรถไฟสายกรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา ได้ทรงพระราชทานนามวัดว่า “วัดจีนประชาสโมสร” ส่วนชื่อภาษาจีนของวัด คำว่า “ฮก แปลว่า วาสนา โชคลาภ ความมั่งมีศรีสุข เล้ง หรือ เล่ง หมายถึง มังกร จึงมีผู้เรียกวัดนี้ ว่า มังกรวาสนา หรือ มังกรแห่งโชค”
ตามหลักฮวงจุ้ยจีนกล่าวว่า วัดนี้ถือเป็นตำแหน่งท้องมังกร ส่วนตำแหน่งหัวมังกรอยู่ที่วัดเล่งเน่ยยี่ จังหวัดกรุงเทพฯ และหางมังกรนั้นอยู่ที่วัดเล่งฮัวยี่ จังหวัดจันทบุรี ทั้งสามตำแหน่งของมังกรพาดผ่านดินแดนของความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์ เยาวราชดินแดนแห่งการค้าขาย เมืองแปดริ้วดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารและจังหวัดจันทบุรี เมืองแห่งอัญมณีพลอย ภายในวัดจีนประชาสโมสรมีสิ่งที่น่าสนใจมากมาย เช่น ท้าวจัตุโลกบาลขนาดใหญ่ 4 องค์ทำจากกระดาษที่ประตูทางเข้า พระประธาน 3 องค์และองค์ 18 อรหันต์ ทำด้วยกระดาษนำมาจากเมืองจีน รูปหล่อเทพเจ้าแห่งโชคลาภ(ไฉ่เซ่งเอี้ย) ที่อยู่ด้านขวาขององค์พระประธานและยังมีเทพเจ้าอีกหลายองค์ตามคติจีน ระฆังใบใหญ่น้ำหนักกว่า 1 ตัน ซึ่งเป็น 1 ใน 3 ใบในโลกที่รอบระฆังมีอักษรมหาปรัชญาปารมิตราสูตรถือกันว่าผู้ได้ใดตีระฆังก็เหมือนกับการสวดมนต์ซึ่งได้บุญกุศล นอกจากนี้ยังมีวิหารศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ เช่น วิหารบูรพาจารย์ วิหารเจ้าแม่กวนอิม วิหารตี่จั๊งอ๊วงและสระนทีสวรรค์ เป็นต้น

ขอขอบคุณ http://woodychannel.com/

วัดจีนประชาสโมสร (วัดเล่งฮกยี่) ฉะเชิงเทรา

Wat-Chin-Pracha-Samosorn-Wat-Leng-Hok-Yee-Chachoengsao-07

วัดจีนประชาสโมสร หรือที่รู้จักกันในนาม วัดเล่งฮกยี่ เป็นวัดแบบจีนศาสนาพุทธนิกายมหายาน มีความเก่าแก่โดยเริ่มสร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยขยายมาจากวัดมังกรกมลาวาส หรือ วัดเล่งเน่ยยี่ ในกรุงเทพฯ ชื่อภาษาจีนของวัด คำว่า “ฮก” แปลว่า วาสนา โชคลาภ ความมั่งมีศรีสุข “เล่ง” หมายถึง มังกร จึงมีผู้เรียกวัดนี้ ว่า มังกรวาสนา หรือ มังกรแห่งโชค” ตามหลักฮวงจุ้ยจีนกล่าวว่า วัดจีนประชาสโมสร (วัดเล่งฮกยี่)ถือเป็นตำแหน่งท้องมังกร ส่วนตำแหน่งหัวมังกรอยู่ที่วัดเล่งเน่ยยี่ จังหวัดกรุงเทพฯ และหางมังกรนั้นอยู่ที่วัดเล่งฮัวยี่ จังหวัดจันทบุรี ทั้งสามตำแหน่งของมังกรพาดผ่านดินแดนของความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์ เยาวราชดินแดนแห่งการค้าขาย เมืองแปดริ้วดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารและจังหวัดจันทบุรี เมืองแห่งอัญมณีพลอย

ภายในวัดจีนประชาสโมสร (วัดเล่งฮกยี่) มีสิ่งที่น่าสนใจ ผู้มีจิตศรัทธาสามารถเดินไหว้สิ่งศักดิ์ตามจุดต่างๆ อันได้แก่ ท้าวจัตุโลกบาลขนาดใหญ่ 4 องค์ทำจากกระดาษที่ประตูทางเข้า เทพเจ้าแห่งโชคลาภไฉ่ซิ้งเอี๊ย พระประธาน 3 องค์และองค์ 18 อรหันต์ ทำด้วยกระดาษนำมาจากเมืองจีน เจ้าแม่กวนอิม และเทพเจ้าอีกหลายองค์ตามคติจีน วิหารหลวงพ่อหินศักดิ์สิทธิ์ วิหารบูรพาจารย์ วิหารตี่จั๊งอ๊วง สระนทีสวรรค์ นอกจากนั้นภายในวัดจีนประชาสโมสร (วัดเล่งฮกยี่) ยังมีระฆังใบใหญ่ของชาวจีนแต้จิ๋วที่ได้สร้างขึ้น 1 ตัน ซึ่งเป็น 1 ใน 3 ใบในโลกที่รอบระฆังมีอักษรมหาปรัชญาปารมิตราสูตรถือกันว่า ว่ากันว่าผู้ได้ใดตีระฆังก็เหมือนกับการสวดมนต์ซึ่งได้บุญกุศล

ขอขอบคุณ http://www.zthailand.com/

วัดจีนประชาสโมสร(วัดเล่งฮกยี่)

วัดจีนประชาสโมสร (วัดเล่งฮกยี่) เป็นวัดจีนในพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ที่ขยายมาจากวัดเล่งเน่ยยี่ ในกรุงเทพฯ ตั้งอยู่ที่ถนนศุภกิจ ตำบลบ้านใหม่ ห่างจากศาลากลางจังหวัด 1 กิโลเมตร สิ่งที่น่าสนใจใน วัดได้แก่ รูปปั้นขนาดใหญ่ของจตุโลกบาล และเทวรูปจีนอ้วยโห้ซึ่งแต่งกายชุดนักรบ นอกจากนี้มีวิหาร ศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ เช่น วิหารบูรพาจารย์ วิหารเจ้าแม่กวนอิม วิหารว่องอ้วนตี่ วิหารตี่ซังอ๋อง และสระนที สวรรค์ เป็นต้น

ขอขอบคุณ http://travel.sanook.com/

วัดจีนประชาสโมสร

การท่องเที่ยวแบบอินเทรนด์ของคนไทยในยุคปัจจุบัน ไม่ได้ยึดติดกับอะไรที่เป็นโมเดิร์นนะคะ แต่กลับหันมานิยมท่องเที่ยวแบบย้อนยุค และอนุรักษ์นิยม อาจเป็นเพราะสังคมไทยโดยเฉพาะเมืองใหญ่ๆ เจริญเติบโตและเต็มไปด้วยวัตถุนิยมมากเกิน คนเลยเริ่มเบื่อ

Img1108000536

จากตลาดคลองสวน 100 ปี มีจุดหมายต่อไปคือ วัดจีนประชาสโมสร ตั้งอยู่ที่ ต.บ้านใหม่ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา เดิมวัดนี้มีชื่อว่า “เล่งฮกยี่” เป็นวัดจีนในพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีอายุมากกว่า 100 ปี เมื่อถึงที่หมาย เราก็ตรงไปซื้อธูปเทียน ดอกไม้ น้ำมัน พร้อมด้วยน้ำอ้อยและส้มเพื่อเข้าไปไหว้พระ ต้องบอกว่าเป็นประสบการณ์ที่สุดยอดและขอยกให้เป็น Unseen ของเรากันเลยทีเดียว เพราะการไหว้พระที่นี่ต้องใช้ธูปจำนวนมาก ตามจุดไหว้พระ แต่ละองค์จะมีป้ายเขียนบอกว่าต้องปักธูปจำนวนกี่ดอก ถ้าไปในวันธรรมดา คนไม่เยอะมาก เจ้าหน้าที่ของวัดจะคอยอำนวยความสะดวกและบอกทางจนครบทั่ววัด

ที่นี่เราได้เจอกับไกด์ท้องถิ่นอีก 2 คน ซึ่งเป็นเรื่องบังเอิญจริงๆ ที่หนึ่งในนั้นชื่อ “สายธาร” นานๆ ทีจะเจอคนชื่อเดียวกัน นอกเหนือจากดาราคนหนึ่งที่ทำให้หลายคนในแอลเอพาเรียกชื่อเล่นเราว่า “ต่าย” เฉยเลย ขอยืมพื้นที่ในคอลัมน์ตัวเองชี้แจงเลยนะคะ ว่าถ้าจะเรียกชื่อเล่น ก็เรียกให้ถูกว่า “แจ๊บ” นะคะ ไม่ใช่ “ต่าย” เพราะมันไม่ใช่เราแถมยังแอบขัดใจทุกทีที่ได้ยินด้วยล่ะ ขอบอก กลับมาเข้าเรื่องกันต่อ น้องๆ 2 คนนี้คอยบรรยายให้เรารับทราบข้อมูลภายในวัด หลังจากที่เราไหว้พระจนครบทุกจุดแล้ว

วัดเล่งฮกยี่ หรือวัดจีนประชาสโมสร เป็นวัดที่ขยายมาจาก วัดเล่งเน่ยยี่ ที่เยาวราช ซึ่งตามหลักฮวงจุ้ยจีนบอกไว้ว่า ตำแหน่งหัวมังกรจะอยู่ที่วัดเล่งเน่ยยี่ ส่วนที่วัดนี้ถือเป็นตำแหน่งท้องมังกร ส่วนหางมังกรจะอยู่ที่วัดเล่งฮัวยี่ จังหวัดจันทบุรี หากสังเกตดีๆ จะพบว่า ทั้งสามตำแหน่งของมังกรตัวใหญ่นี้ได้พาดผ่านดินแดนของความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์ทั้งเยาวราชในกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นพื้นที่แห่งการค้าขายมีเงินทองแพร่สะพัด ส่วนเมืองแปดริ้วที่เราไปเยือนก็อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร มีแม่น้ำบางปะกงหล่อเลี้ยงชีวิต ส่วนที่จันทบุรีก็อุดมสมบูรณ์ไม่แพ้กัน อีกทั้งยังเป็นแหล่งที่ขึ้นชื่อของพลอย อัญมณีที่ล้ำค่าอีกด้วย ถ้าจะให้ดีก็ไปไหว้พระขอพรทั้งสามวัดนี้ เชื่อว่าความโชคดีมั่งคั่งจะมาสู่ผู้มีจิตศรัทธาอย่างแน่นอน

Read more »

วัดจีนประชาสโมสร(วัดเล่งฮกยี่)

pc313

ตั้งอยู่ถนนศุภกิจ ต้บลบ้านใหม่ ห่างจากศาลากลางจังหวัด ๔ กิโลเมตร เป็นวัดจีนในพุทธศาสนาฝ่ายมหายานที่ขยายมาจากวัดเล่งเน่ยยี่ในกรุงเทพฯ สร้างขึ้นในสมัยรัชการที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๔๙
สิ่งที่น่าสนใจภายในวัด ได้แก่ รูปปั้นขนาดใหญ่ของจตุโลกบาลและเทวรูปจีนอ้วยโห้ ซึ่งแต่งกายชุดนักรบ นอกจากนี้มีวิหารศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ เช่น วิหารบูรพาจารย์ วิหารเจ้าแม่กวนอิม วิหารว่องอ้วนตี่ วิหารตี่ซังอ๋อ และสระนทีสวรรค์ เป็นต้น

(Wat Lenghokyi)

This monastery is situated at Suphakit Road, Ban Mai District, 4 kilometers form the province city hall. It is a Chinese monastery of Maha Yana Buddhism, being a branch of Wat Leng Noei Yi, Bangkok, built in King Rama 5′ s reign in 1906.
The interesting things in this monastery are the big statues of the God of Four Earths Keeper and Uayho Chinese God lmage in warrior costume. Besides, there are many sacred viharns, such as Burapajarn, Kuan Yin Goddess, Wong-Uanti, Ti Sang Ong viharns and Natisawan Pond etc.
โทร./Tel. 0-3851-1069

ขอขอบคุณ http://www.province.chachoengsao.go.th/

ไหว้พระที่วัดจีนประชาสโมสร (เล่งฮกยี่)

วัดจีนประชาสโมสร หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดเล่งฮกยี่
กล่าวกันว่าการสร้างวัดดังกล่าวยึดตามตำแหน่งฮวงจุ้ย
โดยเปรียบเทียบกับมังกร มี 3 ตำแหน่ง
ตำแหน่งหัวมังกรจะอยู่ที่เยาวราช ที่วัดมังกรกมลาวาส(วัดเล่งเน่ยยี่)กรุงเทพฯ
เป็นย่านเศรษฐกิจที่สำคัญ เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก
ตำแหน่งท้องมังกร อยู่ที่วัดจีนประชาสโมสร (เล่งฮกยี่) จ.ฉะเชิงเทรา
เป็นย่านความอุดมสมบูรณ์
และตำแหน่งหางมังกร อยู่ที่วัดมังกรบุปผาราม (เล่งฮัวยี่) จ.จันทบุรี
เป็นแหล่งพลอยที่มีชื่อเสียงของไทย
โดยวัดเล่งฮกยี่นี้ สร้างขึ้นสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2449
มีเทพเจ้าที่ทำจากกระดาษลักษณะงานแบบเปเปอร์มาเช่ร์
ลักษณะเดียวกับที่วัดเล่งเน่ยยี่เยาวราช

Read more »

. . . . . . .
. . . . . . .